หนังสือตัวเขียนลิลิตพระลอ ฉบับหลวงสรวิชิต (หน) ชำระ พ.ศ. 2321: ความสำคัญที่มีต่อการศึกษาลิลิตพระลอ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษาหนังสือตัวเขียนลิลิตพระลอ ต้นฉบับสมุดไทยดำ เส้นหรดาล เลขที่ 17077 และ 17076 (2) เก็บรักษาที่ศูนย์สนเทศภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จากการศึกษาพบว่าเอกสารทั้งสองรายการขาดมาแต่สมุดไทยเล่มเดียวกัน มีเนื้อความเรื่องลิลิตพระลอเฉพาะครึ่งหลัง หรือตั้งแต่คำประพันธ์บทที่ 383 ถึง 660 (ตามลำดับบทของฉบับตีพิมพ์) โคลงท้ายมีข้อความระบุว่า หลวงสรวิชิตได้พบหนังสือตัวเขียนลิลิตพระลอในปีที่ 12 หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยา (ตรงกับ พ.ศ. 2321) และได้ชำระส่วนที่ขาดหายไปให้สมบูรณ์ขึ้น นายถกผู้คัดลอกได้ลงศักราชที่คัดลอกเสร็จสมบูรณ์ไว้ตรงกับปี พ.ศ. 2321 ในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงนับว่าเป็นหนังสือตัวเขียนลิลิตพระลอที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดที่พบในปัจจุบัน แม้ว่าจะมีใจความไม่สมบูรณ์และมีรูปแปรแตกต่างกับฉบับตีพิมพ์อยู่เพียงเล็กน้อย แต่ก็นับเป็นหลักฐานสำคัญในการศึกษาลิลิตพระลอทั้งในแง่ของการวิพากษ์ต้นฉบับและการพิจารณาประวัติวรรณคดี
Article Details
References
ภาษาไทย
เอกสารตัวเขียน
เอกสารเลขที่ 17076 (2) “ลิลิตพระลอ”. ศูนย์สนเทศภาคเหนือ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สมุดไทยดำ เส้นหรดาล. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารเลขที่ 17077 “ลิลิตพระลอ”. ศูนย์สนเทศภาคเหนือ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สมุดไทยดำ เส้นหรดาล. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารเลขที่ 17078 (2) “พระลอลิลิต”. ศูนย์สนเทศภาคเหนือ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สมุดไทยดำ เส้นหรดาล. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารเลขที่ S. 27 (1) “ลิลิตพระลอ เล่ม 4”. หอสมุดสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบูรพทิศ (École française d'Extrême-Orient) กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส. สมุดไทยดำ เส้นหรดาล. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารเลขที่ S. 27 (3) “ลิลิตพระลอ เล่ม 3”. หอสมุดสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบูรพทิศ (École française d'Extrême-Orient) กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส. สมุดไทยดำ เส้นหรดาล. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารเลขที่ S. 27 (4) “ลิลิตพระลอ เล่ม 1”. หอสมุดสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบูรพทิศ (École française d'Extrême-Orient) กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส. สมุดไทยดำ เส้นหรดาล. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารเลขที่ S. 27 (5) “ลิลิตพระลอ เล่ม 2”. หอสมุดสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบูรพทิศ (École française d'Extrême-Orient) กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส. สมุดไทยดำ เส้นหรดาล. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารหมวดจดหมายเหตุ หมู่รัชกาลที่ 3 จ.ศ. 1200 เลขที่ 90 “สมุดบาญชียจดหมายสมุดต่างๆ วังกรมหลวงรักษ์ในนี้”. แผนกเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติ. สมุดไทยดำ เส้นดินสอ. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารหมวดวรรณคดี หมู่โคลง เลขที่ 148 “กำสรวล”. แผนกเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติ. สมุดไทยดำ เส้นดินสอ. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารหมวดวรรณคดี หมู่โคลง เลขที่ 149 “กำสรวล”. แผนกเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติ. สมุดไทยดำ เส้นดินสอ. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารหมวดวรรณคดี หมู่โคลง เลขที่ 150 “กำสรวลศรีปราชญ์”. แผนกเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติ. สมุดไทยดำ เส้นหรดาล. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารหมวดวรรณคดี หมู่ลิลิต เลขที่ 101 “พระสมุดพระลอลิลิต”. แผนกเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติ. สมุดไทยดำ เส้นหรดาล. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารหมวดวรรณคดี หมู่ลิลิต เลขที่ 104 “ลิลิตพระลอ เล่ม 1”. แผนกเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติ. สมุดไทยขาว เส้นหมึก. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารหมวดวรรณคดี หมู่ลิลิต เลขที่ 108 “พระลอ เล่ม 1”. แผนกเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติ. สมุดไทยขาว เส้นหมึก. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารหมวดวรรณคดี หมู่ลิลิต เลขที่ 111 “ลิลิตพระลอ”. แผนกเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติ. สมุดไทยขาว เส้นหมึก. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารหมวดวรรณคดี หมู่ลิลิต เลขที่ 121 “ลิลิตพระลอ”. แผนกเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติ. สมุดไทยดำ เส้นหรดาล. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารหมวดวรรณคดี หมู่ลิลิต เลขที่ 134 “พระลอ”. แผนกเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติ. สมุดไทยดำ เส้นหรดาล. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารหมวดวรรณคดี หมู่ลิลิต เลขที่ 140 “ลิลิตพระลอ”. แผนกเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติ. สมุดไทยดำ เส้นหรดาล. อักษรไทย. ภาษาไทย.
เอกสารตีพิมพ์
กรมศิลปากร. (2508). ลิลิตพระลอ ฉบับหอสมุดแห่งชาติ. พระนคร: กรมศิลปากร.
กรมศิลปากร. (2512). ราชสกุลวงศ์. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์.
กรมศิลปากร. (2529). วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
กรมศิลปากร. (2540). วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
กรมศิลปากร. (2555). ประชุมสุภาษิตสอนหญิง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2509). หนังสืออ่านกวีนิพนธ์ เรื่อง ลิลิตพระลอ ของกระทรวงศึกษาธิการ. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา พระสุเมรุ.
ไกรศรี นิมมานเหมินท์. (2528). ลายคราม: เพื่อเฉลิมฉลองอายุครบ 6 รอบ นายไกรศรี นิมมานเหมินท์ 24 ธันวาคม 2527. เชียงใหม่: ศูนย์หนังสือเขียงใหม่.
ฉันทิชย์ กระแสสินธุ์. (2497). ประชุมวรรณคดีไทย ภาค 2 พระลอลิลิต. พระนคร: ไทยวัฒนาพานิช.
ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (2547). วรรณคดีอยุธยาตอนต้น: ลักษณะร่วมและอิทธิพล. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2559). เรื่องหนังสือหอหลวง. ใน นิทานโบราณคดี (น. 129–160). กรุงเทพฯ: ไทยควอลิตี้บุ๊คส์.
ตรีศิลป์ บุญขจร. (2530). พัฒนาการการศึกษาค้นคว้าและวิจัยวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิพพวรรณ บุญส่งเจริญ. (2562). กวีสมัยกรุงธนบุรีที่สร้างสรรค์ผลงานสืบมาในสมัยรัตนโกสินทร์. ใน กรมศิลปากร. วรรณคดีสมัยกรุงธนบุรี: รวมบทความประกอบการสัมมนาทางวิชาการ เนื่องในวาระ 250 ปีแห่งการสถาปนากรุงธนบุรี (น. 303–332). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
ธนิต อยู่โพธิ์. (2558). บันทึกเรื่องหนังสือจินดามณี. ใน จินดามณีฉบับความแปลก ฉบับพระเจ้าบรมโกศ ฉบับจุลศักราช 1144 (น. 9–33). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
ธานีรัตน์ จัตุทะศรี. (2562ก). บทละครเรื่องดาหลังฉบับสมุดไทยเลขที่ 516/1: เรื่องดาหลังสำนวนแปลก. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 36(2), 67–109.
ธานีรัตน์ จัตุทะศรี. (2562ข). อิเหนาวิวิธ: รวมบทความว่าด้วยเรื่องอิเหนาฉบับแปลกใหม่. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญเตือน ศรีวรพจน์. (2562). การตรวจสอบชำระบทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี. ใน กรมศิลปากร. วรรณคดีสมัยกรุงธนบุรี: รวมบทความประกอบการสัมมนาทางวิชาการ เนื่องในวาระ 250 ปีแห่งการสถาปนากรุงธนบุรี (น. 35–54). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
พันธุ์อร จงประสิทธิ์. (2561). ลิลิตพระลอ. ใน กรมศิลปากร. วรรณคดีแห่งชาติ เล่ม 2 (น. 97–118). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
ลิลิตพระลอ. (2458). พระนคร: โรงพิมพ์ไทย.
วิภา กงกะนันทน์. (2554). เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด ท่านเอย: ประวัติกวีผู้แต่งลิลิตพระลอ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
วิสุทธ์ บุษยกุล. (2536). การตรวจชำระงานตัวเขียน. ใน ด้วยกตัญญุตา: รฤกพระคุณศาสตราจารย์กิตติคุณ ฉลวย วุธาทิตย์ ในโอกาสฉลองอายุครบ 80 ปี 9 ธันวาคม 2536 (น. 143–168). กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุพรรณ อรพินท์. (2525). วรรณกรรมเจ้าพระยาพระคลัง (หน). กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุมาลี วีระวงศ์. (2558). ข้อสังเกตว่าด้วยพัฒนาการทางภาษาและวัฒนธรรมสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ในตำนานมุขปาฐะและวรรณคดีลายลักษณ์. ใน ในยุคอวสาน กรุงศรีฯ ไม่เคยเสื่อม (น. 215–256). กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม.
อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. (2553). คำยืมภาษาบาลีและสันสกฤต. ใน หนังสืออุเทศภาษาไทย ชุดบรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 2: คำ การสร้างคำและการยืมคำ (น. 113–197). กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
อินทรายุธ (อัศนี พลจันทร). (2559). ลิลิตพระลอ...วรรณคดีศักดินา. ใน ข้อคิดจากวรรณคดี (น. 73–90). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อ่าน.
ภาษาต่างประเทศ
Bickner, Robert J. (1991). An Introduction to the Thai Poem “Lilit Phra Law” (The Story of King Law). DeKalb, Illinois: Center for Southeast Asian Studies, Northern Illinois University.
Isaacson, Harunaga. (2009). Of Critical Editions and Manuscript Reproduction: Remarks apropos of a Critical Edition of Pramāṇaviniścaya Chapter 1-2. Manuscript Cultures, 2, 13-20.
Katre, S. M. (1941). Introduction to Indian Textual Criticism. Bombay: Karnatak Publishing House.
Kenney, Edward John. (2003). Textual Criticism. In The New Encyclopaedia Britannica Volume 20 (pp. 614–620). Chicago: Encyclopaedia Britannica, Inc.
Maas, Paul. (1958). Textual Criticism. Oxford: Clarendon.
Ong, Walter J. (2012). Orality and Literacy: The Technologizing of the Word. New York: Routledge.
Panarut, Peera. (2019). Ayutthaya Literature in the Hands of Bangkok Scribes and Scholars: Paratexts and Transmission History of Ayutthaya Literature in the Bangkok Period (Doctoral dissertation). Universität Hamburg.
Terwiel, Barend Jan. (2014). On the Trail of King Taksin’s Samutphāp Traiphūm. Journal of the Siam Society, 102, 41–66.