ลักษณะเด่นของบทละครดึกดำบรรพ์เรื่องสิทธิธนู

Main Article Content

กรกฎ คำแหง

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งวิเคราะห์ลักษณะเด่นของบทละครดึกดำบรรพ์เรื่องสิทธิธนู นิพนธ์ของพระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ) ผลการศึกษาพบว่าบทละครดึกดำบรรพ์เรื่องสิทธิธนูเป็นบทละครที่แต่งขึ้นใหม่ มีลักษณะเด่น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านการสร้างตัวละครเอก ด้านแนวคิด และด้านกระบวนพรรณนา ลักษณะเด่นที่ปรากฏมีความสำคัญ คือ ทำให้บทละครเรื่องนี้มีความแปลกใหม่และเป็นการสะท้อนภาพสังคมในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จักรกฤษณ์ ดวงพัตรา. (2533). วิเคราะห์บทละครดึกดำบรรพ์ ของ สมภพ จันทรประภา (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2515). วงศ์เทวราช. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2516). บทละคร เรื่องเงาะป่า พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต และธานีรัตน์ จัตุทะศรี. (2562). พระราชนิพนธ์บทเจรจาละคร เรื่องอิเหนา: พระอัจฉริยภาพด้านวรรณคดีการแสดงของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนาเพรส จำกัด.

ตระกูล มีชัย. (2563). การปกครองท้องถิ่นก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 (พ.ศ. 2435 - 2475). วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 2(1), 1-24.

ธานีรัตน์ จัตุทะศรี. (2552). พระราชนิพนธ์อิเหนาในรัชกาลที่ 2: การสร้างนิทานปันหยี ให้เป็นยอดแห่งวรรณคดีบทละครใน (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

พนมกร คำวัง. (2560). ปรัชญาประเพณีของศาสนาคริสต์ที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย. วารสารพุทธมัคค์, 2(1), 15-21.

พรทิพย์ ด่านสมบูรณ์. (2538). ละครดึกดำบรรพ์ของสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขานาฏยศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

รัตนพล ชื่นค้า. (2557). เพลงพื้นบ้านในบทละครดึกดำบรรพ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. วารสารไทยศึกษา, 9(2), 131-160.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2552). พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทยฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

ศรีภูริปรีชา, พระยา. (2523). บทละครดึกดำบรรพ์ เรื่อง สิทธิธนู. กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.

สุรพล วิรุฬห์รักษ์. (2554). นาฏยศิลป์รัชกาลที่ 5. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค.

เสาวณิต วิงวอน. (2555). วรรณคดีการแสดง. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดีและคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.