“บารมีดีที่ตน”: แนวคิดทศบารมีและกลวิธีการเล่านิทานชาดกสำหรับเด็กในสื่อใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งศึกษาแนวคิดทศบารมีและกลวิธีการนำเสนอชาดกเป็นนิทานสำหรับเด็กในโครงการบารมีดีที่ตน ซึ่งได้เลือกอรรถกถาชาดกที่นำเสนอแนวคิดทศบารมีจำนวน 10 เรื่องมาบันทึกเสียงประกอบแอนิเมชัน ผลการศึกษาพบว่านิทานชาดกในชุดนี้นำเสนอแนวคิดทศบารมีตามที่มีมาในคัมภีร์อรรถกถาชาดกและคัมภีร์พุทธศาสนาเถรวาทต่าง ๆ โดยมีการตีความและอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับบารมีให้เข้าใจง่าย เชื่อมโยงให้เข้ากับข้อคิดที่ปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวันซึ่งสอดคล้องกับลักษณะการเป็นนิทานสำหรับเด็ก และมีกลวิธีการปรับเนื้อหาและรูปแบบจากอรรถกถาชาดกเพื่อให้เป็นนิทานที่เหมาะสำหรับเด็กวัยประถมศึกษา ได้แก่ การวางโครงสร้างของเรื่อง การเรียบเรียงเนื้อหา และการใช้ภาษา นิทานชาดกชุดนี้จึงโดดเด่นและสะท้อนให้เห็นคุณค่าและลักษณะการดำรงอยู่ของเรื่องชาดกและแนวคิดทศบารมีในสังคมไทยร่วมสมัย
Article Details
References
เฉลิม มากนวล. (2518). การวิเคราะห์เปรียบเทียบนิทานชาดกกับนิทานอีสป. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.
ณัฐกาญจน์ นาคนวล. (2559). เรื่องเล่าทศชาติชาดก: การสืบทอดในสังคมไทยร่วมสมัย (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ. (2524). ทศบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาตะวันออก). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
บารมีดีที่ตน. (2562ก). นิทานชาดกเรื่อง กัณหทีปายนชาดก. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2564 จาก https://www.youtube.com/watch?v=DbRtpAeUF1Y&t=151s
บารมีดีที่ตน. (2562ข). นิทานชาดกเรื่อง ขันติวาทีชาดก. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2564 จาก https://www.youtube.com/watch?v=qY28uOp4C4k
บารมีดีที่ตน. (2562ค). นิทานชาดกเรื่อง ฉัททันตชาดก. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2564 จาก https://www.youtube.com/watch?v=vMfqInrKSnY&t=21s
บารมีดีที่ตน. (2562ง). นิทานชาดกเรื่อง มหิสชาดก. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2564 จาก
https://www.youtube.com/watch?v=Dc24liuOjHc&t=602s
บารมีดีที่ตน. (2562จ). นิทานชาดกเรื่อง วัฏฏกชาดก. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2564 จาก
https://www.youtube.com/watch?v=PAQkVYiEpO8&t=410s
บารมีดีที่ตน. (2562ฉ). นิทานชาดกเรื่อง สสปัณฑิตชาดก. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2564 จาก https://www.youtube.com/watch?v=2fPIesEgIiU
บารมีดีที่ตน. (2562ช). นิทานชาดกเรื่อง เสนกชาดก. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2564 จาก
https://www.youtube.com/watch?v=f8oNB0jhqwc
บารมีดีที่ตน. (2562ซ). นิทานชาดกเรื่อง อโยฆรชาดก. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2564 จาก
https://www.youtube.com/watch?v=pe487Jwle6Y
บารมีดีที่ตน. (2562ฌ). อาจารย์ธงทอง เล่าถึงการทำโครงการบารมีดีที่ตน เล่านิทานชาดก. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2564 จาก
https://www.youtube.com/watch?v=9rh0h21Ddf0
พลกฤษณ์ วสีวิวัฒน์. (2559). นิทานชาดกสอนคติธรรมสำหรับเด็ก: การสร้างสรรค์และบทบาทในสังคมไทยปัจจุบัน. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12(2), 111–150.
มานิตา ลีโทชวลิต. (2544). การวิเคราะห์นิทานชาดกที่ส่งเสริมสันติธรรมสำหรับเด็กปฐมวัย (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
อรรถกถา กุกกุรชาดก. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2564 จาก https://84000.org/tipitaka/atita100/jataka.php?i=270022
อรรถกถา ขันติวาทีชาดก. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2564 จากhttps://84000.org/tipitaka/atita100/jataka.php?i=270550
อรรถกถา ฉัททันตชาดก. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2564 จาก https://84000.org/tipitaka/atita100/jataka.php?i=272327&p=1
อรรถกถา ภัททสาลชาดก. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2564 จาก https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=27&i=1613
อรรถกถา มหิสชาดก. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2564 จาก https://84000.org/tipitaka/attha/jataka.php?i=270433
อรรถกถา มหากปิชาดก. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2564 จาก https://84000.org/tipitaka/attha/jataka.php?i=271050
อรรถกถา มัณฑัพยชาดก. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2564 จาก https://84000.org/tipitaka/attha/jataka.php?i=271380
อรรถกถา สสปัณฑิตชาดก. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2564 จาก https://84000.org/tipitaka/atita100/jataka.php?i=270562
อรรถกถา เสนกชาดก. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2564 จากhttps://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=27&i=1014
อรรถกถา อโยฆรชาดก. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2564 จาก https://84000.org/tipitaka/attha/jataka.php?i=272261
อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล. (2565). ชาดกกับวัฒนธรรมวรรณศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: โครงการ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.