การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในการใช้โดรนโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ
Main Article Content
บทคัดย่อ
สิทธิในการมีชีวิต สิทธิของบุคคลที่จะมีความปลอดภัย สิทธิที่จะไม่ถูกปฏิบัติด้วย การกระทำที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรมหรือย่ำยีศักดิ์ศรี สิทธิในความเป็นส่วนตัวและสิทธิในเสรีภาพ ซึ่งอาจถูกกระทบจากการใช้โดรนโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นได้รับความคุ้มครองตามกติการะหว่าง ประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ส่วนสิทธิในทรัพย์สินซึ่งอาจถูกกระทบจาก การกระทำดังกล่าวเช่นกันนั้นก็ได้รับการคุ้มครองตามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและประมวลกฎหมายอาญา อย่างไรก็ตาม เมื่อบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการจับโดยไม่มีหมายจับในเหตุเร่งด่วนกับการค้นในที่รโหฐานโดยไม่มี หมายค้นในเหตุเร่งด่วนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญานั้นไม่ได้มีบัญญัติ เกี่ยวกับการใช้โดรนไว้โดยเฉพาะประกอบกับการตีความแบบเดิมในเรื่องของการจับโดยไม่มี หมายจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญากับในเรื่องของการบุกรุกตามประมวลกฎหมาย อาญานั้นไม่สามารถนำมาใช้กับเรื่องของการใช้โดรนโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อการจับหรือค้นดังกล่าว ได้อีกต่อไปจึงอาจทำให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพข้างต้น บางประการในอนาคตได้ดังนั้นบทความนี้จึงมีข้อเสนอแนะคือ
๑. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๗๘ ว่าด้วยเรื่องของการจับ โดยไม่มีหมายจับในกรณีเร่งด่วนและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๙๒ ว่าด้วย เรื่องของการค้นในที่รโหฐานโดยไม่มีหมายค้นในกรณีเร่งด่วนนั้นควรบัญญัติให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในการใช้โดรนในเรื่องดังกล่าวด้วย
๒. ปรับปรุงกฎหมายอาญาเพื่อให้มีความผิดฐานบุกรุกอันเนื่องมาจากการใช้โดรน โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐในการค้นในที่รโหฐานโดยปราศจากอำนาจ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ภาษาไทย
หนังสือ
คณพล จันทน์หอม. (๒๕๖๔). คำอธิบายกฎหมายอาญาภาคความผิด เล่ม ๓ พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
คมสัน โพธิ์คง. (๒๕๖๒). หน่วยที่ ๑๓ องค์กรคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย. ใน รุ่งพงษ์ ชัยนาม (บรรณาธิการ), เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิทธิมนุษยชน หน่วยที่ ๘-๑๕ (พิมพ์ครั้งที่ ๑๔, น.๒๒๓-๒๘๒). ม.ป.ท.: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
จรัล ดิษฐาอภิชัย. (๒๕๖๒). หน่วยที่ ๘ สิทธิเกี่ยวกับมโนธรรมและความเป็นส่วนตัว. ใน รุ่งพงษ์ ชัยนาม (บรรณาธิการ), เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิทธิมนุษยชน หน่วยที่ ๘-๑๕ (พิมพ์ครั้งที่ ๑๔, น.๑-๓๘). ม.ป.ท.: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
จรัญ ภักดีธนากุล. (๒๕๖๒). กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน พิมพ์ครั้งที่ ๑๔. กรุงเทพมหานคร: กรุงสยาม พับลิชชิ่ง.
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. (๒๕๖๒). คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาคความผิดและลหุโทษ พิมพ์ครั้งที่ ๑๗. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
ธีสุทธิ์ พันธ์ฤทธิ์. (๒๕๕๘). การรับฟังพยานหลักฐานคดีอาญา : บทวิเคราะห์และวิจารณ์ พิมพ์ครั้งที่ ๒ กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์นิติธรรม.
นพนิธิ สุริยะ. (๒๕๕๙). สิทธิมนุษยชน : แนวคิดและการคุ้มครอง. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
บรรเจิด สิงคะเนติ. (๒๕๖๒). หลักพื้นฐานสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
ปกป้อง ศรีสนิท. (๒๕๖๓). สิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
มานิตย์ จุมปา. (๒๕๖๒). คู่มือศึกษาวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ (ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๖๐)). กรุงเทพมหานคร: กรุงสยาม พับลิชชิ่ง.
สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล. (๒๕๖๓). ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ฉบับอ้างอิง พิมพ์ครั้งที่ ๒๐. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
อุดมศักดิ์ สิทธิพงษ์. (๒๕๖๑). สิทธิมนุษยชน พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
บทความ
ปวริศร์ กิจสุขจิต. (๒๕๖๓). โดรนอัตโนมัติติดอาวุธ: ปัญหาทางกฎหมายของการใช้ในการจับกุมผู้ต้องสงสัยหรืออาชญากรตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๓ วรรคท้าย. บทบัณฑิตย์, ๗๖(๓), ๕๕-๗๕.
ปวริศร์ กิจสุขจิต. (๒๕๖๓). การเจาะจงวิสามัญฆาตกรรมกับการใช้กำลังของเจ้าพนักงานผู้รักษากฎหมายบนพื้นฐานของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๘๓ วรรคท้ายและประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๖๘. บทบัณฑิตย์, ๗๖(๔), ๑๔๖-๑๖๙.
วิทยานิพนธ์
อริยา มนูสุข. (๒๕๔๘). การจับ : ศึกษาเฉพาะกรณีความผิดซึ่งหน้า. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์).
ข้อมูลออนไลน์
กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ (๒๕๕๘). กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR). [ออนไลน์]. สืบค้นจาก http://humanrights.mfa.go.th/th/humanrights/obligation/international-human-rights-mechanism/ICCPR.php เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔.
พงษ์ธวัฒน์ บุญพิทักษ์. (ม.ป.ป). สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=1728 เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔.
มาร์ค เจริญวงศ์ (๒๕๖๒, ตุลาคม ๒๐). ‘Innovative Disruption’ ผลกระทบต่อกฎหมาย ที่ยังขาดความสนใจในสังคมไทย. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก https://www.thansettakij.com/content/columnist/412340 เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔.
มิตรผล โมเดิร์นฟาร์ม (๒๕๖๓). รู้จัก Disruptive Technology เทคโนโลยีสร้างความพลิกผัน. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก http://www.mitrpholmodernfarm.com/news/2020/02/รู้จักกับ-disruptive-technology-เทคโนโลยีสร้างความพลิกผัน เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔.
สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. กฎหมายควบคุมการใช้โดรนเพื่อคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก http://library2.parliament.go.th/ejournal/content_af/2561/jun2561-2.pdf เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔.
MGR Online (๒๕๖๓, กุมภาพันธ์ ๙). ชาวเน็ตชม “ช่อง ๗” ส่งโดรนช่วยตำรวจตามหามือกราดยิงโคราชสำเร็จ. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก https://mgronline.com/onlinesection/detail/9630000013404 เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔.
คำพิพากษาศาลฎีกาประเทศไทย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๐๕๑๐/๒๕๕๕ <http://deka.supremecourt.or.th/> สืบค้นเมื่อ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๒๙๘๓/๒๕๕๘ <http://deka.supremecourt.or.th/> สืบค้นเมื่อ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๗๖๘/๒๕๔๐ < http://deka.supremecourt.or.th/> สืบค้นเมื่อ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๔๗๕/๒๕๔๗ < http://deka.supremecourt.or.th/> สืบค้นเมื่อ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๔.
ภาษาต่างประเทศ
หนังสือ
Carmen, R. V. d. (2014). Criminal Procedure Law and Practice 9th edition. United States of America: Wadsworth.
Casey – Maslen, S. (2014). Existing and Future Weapons and Weapons Systems. In Casey-Maslen, S. (Editor), Weapons under International Human Rights Law. (p.593-606). Cambridge: Cambridge University Press.
Melzer, N. (2009). Targeted Killing in International Law. Oxford: Oxford University Press.
Smith, R. K. M. (2005). Textbook on International Human Rights 2nd edition. Oxford: Oxford University Press.
บทความ
Bratholm, A. (1961). The Exclusionary Rule. the Journal of Criminal Law, Criminology, and Police Science, 52(3), 287-292. Retrieved from https://www.jstor.org/stable/pdf/1141110.pdf?refreqid=excelsior%3Aa22e52fcc94eb0c03b7151151ff9196f.
Cook, R. J. (1994). State Responsibility for Violations of Women’s Human Rights. Harvard Human Rights Journal, 7, 125-176.
Hayes, R. (2002). Balancing Victims’ Rights and Probative Value with the Fourth Amendment Right to Security in the Exclusion of Unlawfully Seized Evidence. New York Law School Journal of Human Rights, 18(2), 271-304.
Heyns, C. (2016). Human Rights and the use of Autonomous Weapons Systems (AWS) During Domestic Law Enforcement. Human Rights Quarterly, 38, 350-378. Retrieved from https://repository.up.ac.za/bitstream/handle/2263/53259/Heyns_Human_2016.pdf?sequence=1.
Roht-Arriaza, N. (1990). State Responsibility to Investigate and Prosecute Grave Human Rights Violations in International Law. California Law Review, 78(2), 449-514.
Safari, G. K. (2014). State Responsibility and the Right to Personal Security in the DRC: A Human Rights Law Perspective. African Journal of Legal Studies, 7(2), 233-251.
Sussman, D. (2005-2006). Defining Torture. Case Western Reserve Journal of International Law, 37, 225-230.
Warren, S. D. & Brandeis, L. D. (1890). The Right to Privacy. Harvard Law Review, 4(5), 193-220.
ข้อมูลออนไลน์
Article 29 Data Protection Working Party (2015). Opinion 01/2015 on Privacy and Data Protection Issues relating to the Utilisation of Drones. Retrieved from http://www.prism.go.kr/homepage/researchCommon/downloadResearchAttachFile.do;jsessionid=E91F08D1326BE7083871B1A1BC18305A.node02?work_key=001&file_type=CPR&seq_no=001&pdf_conv_yn=N&research_id=1079930-201600002.
BBC News. (2020, December 22). France bans use of drones to police protests in Paris. Retrieved from https://www.bbc.com/news/world-europe-55411695.
BBC (2021). Drone Used to Bust Drug Deal in China. Retrieved from https://www.bbc.com/news/technology-54526515.
CAA Norway. Regulations of drones. Retrieved from https://luftfartstilsynet.no/en/drones/commercial-use-of-drones/about-dronesrpas/regulations-of-drones/.
Cole, C. & Wright, J. (n.d.). What Are Drones?. Retrieved from https://dronewars.net/aboutdrone/.
Cornell Law School. Fourth Amendment. Retrieved from https://www.law.cornell.edu/constitution/fourth_amendment.
Dorset Police. (2021). Use of Drones. Retrieved from https://www.dorset.police.uk/help-advice-crime-prevention/safety-in-your-community/use-of-drones/.
Holmes, A (2020, June 1). How police are Using Technology Like Drones and Facial Recognition to Monitor Protests and Track People Across the US. Retrieved from https://www.businessinsider.com/how-police-use-tech-facial-recognition-ai-drones-2019-10#drones-surveillance-towers-and-more-cameras-6.
Icelandic Transport Authority. (2017). Regulation No. 900/2017 on the Operation of Remotely Piloted Aircraft. Retrieved from https://www.icetra.is/media/log-og-reglur-i-flugmalum/Regulation-990-2017-on-the-operation-of-remotely-piloted-aircraft.pdf.
Laws of Florida Chapter 2013-33. Freedom from Unwarranted Surveillance Act. Retrieved from http://laws.flrules.org/2013/33.
Mikkelson, D. (2012). Insect Spy Drone. Retrieved from https://www.snopes.com/fact-check/insect-spy-drone/.
Ministry of Justice and the Police. The Criminal Procedure Act. Retrieved from https://app.uio.no/ub/ujur/oversatte-lover/data/lov-19810522-025-eng.pdf.
North Dakota Century Code. Chapter 29-29.4 Surveillance by Unmanned Aerial Vehicle. Retrieved from https://www.legis.nd.gov/cencode/t29c29-4.pdf#nameddest=29-29p4-02.
Open Society Foundations. (2019, January). Universal Jurisdiction Law and Practice in Norway. Retrieved from https://trialinternational.org/wp-content/uploads/2019/05/Universal-Jurisdiction-Law-and-Practice-in-Norway.pdf.
Romero, A. R. (n.d.). Property Rights: What Constitutes a Trespass. Retrieved from https://www.dummies.com/education/law/property-rights-what-constitutes-a-trespass/.
Senate No. 1446 (Senate Docket, No. 1801, Filed on: 1/18/2019). An Act relative to the use of unmanned aerial systems. Retrieved from https://malegislature.gov/Bills/191/S1446.
The Constitution of the Kingdom of Norway. Retrieved from https://lovdata.no/dokument/NLE/lov/1814-05-17.
The Eighth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders, Havana, Cuba. (1990). Basic Principles on the Use of Force and Firearms by Law Enforcement Officials. Retrieved form https://www.ohchr.org/Documents/ProfessionalInterest/firearms.pdf.
The Guardian (n.d.). Civil Liberty Fears as Police Consider Using Drones that Film from 1,500ft. Retrieved from https://www.theguardian.com/uk-news/2021/oct/29/police-england-wales-long-range-drone-footage-tender-filming.
U.S. Department of Homeland Security Privacy, Civil Rights & Civil Liberties Unmanned Aircraft Systems Working Group. (2015, December 18). U.S. Department of Homeland Security Best Practices for Protecting Privacy, Civil Rights & Civil Liberties in Unmanned Aircraft Systems Programs. Retrieved from https://www.dhs.gov/sites/default/files/publications/UAS%20Best%20Practices.pdf.
United Nations (n.d.). Responsibility of States for Internationally Wrongful Acts 2001. Retrieved from https://legal.un.org/ilc/texts/instruments/english/draft_articles/9_6_2001.pdf.
United Nations General Assembly. (2006, September 5). Extrajudicial, Summary or Arbitrary Executions: Note by the Secretary-General. Retrieved from https://documents-dds-ny.un.org/doc/UNDOC/GEN/N06/488/01/PDF/N0648801.pdf?OpenElement.
United Nations General Assembly. (2014, April 1). Report of the Special Rapporteur on extrajudicial, summary or arbitrary executions, Christof Heyns. Retrieved from https://www.ohchr.org/EN/Issues/Executions/Pages/AnnualReports.aspx.
UNODC (2019, March). Topic three – The general principles of use of force in law enforcement. Retrieved form https://www.unodc.org/e4j/en/crime-prevention-criminal-justice/module-4/key-issues/3--the-general-principles-of-use-of-force-in-law-enforcement.html.
US Court of Appeals for the Fifth Circuit. United States of America, Plaintiff-appellee, v. Martin Willard Houltin and Kenneth B. Phillips, Defendants-appellants, 566 F.2d 1027 (5th Cir. 1978). Retrieved from https://law.justia.com/cases/federal/appellate-courts/F2/566/1027/400103/.
คำพิพากษาศาลต่างประเทศ
Katz v. United States, 389 U.S. 347, 374 (1967).