การตีความกฎหมายที่สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญตามกฎหมายเยอรมัน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การตีความกฎหมายที่สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ เป็นหลักกฎหมายที่พัฒนาขึ้นมาโดย ศาลรัฐธรรมนูญเยอรมัน และเป็นหลักการที่ได้รับการยอมรับจากนักกฎหมายเยอรมันทั้งในฝ่ายตำราและฝ่ายศาล ผู้เขียนนำเสนอบทความชิ้นนี้ด้วยความหวังว่า สามารถนำหลักการดังกล่าวมาปรับใช้ ในระบบกฎหมายไทยได้เช่นเดียวกัน ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๖๖ และคำพิพากษาศาลฎีกาบางเรื่องที่ผู้เขียนนำมาวิเคราะห์ไว้ และหากเป็นเช่นที่หวังไว้จริงย่อมส่งผลโดยตรงต่อการที่ หลักการต่าง ๆ ที่ได้ถูกบัญญัติไว้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ จะได้รับการปฏิบัติตามอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ภาษาไทย
หนังสือ
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. (๒๕๕๐). กฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม ๒ พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด จิรรัชการพิมพ์.
คณพล จันทน์หอม. (๒๕๖๓). คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม ๑ พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
คณิต ณ นคร. (๒๕๔๙). กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
จิตติ ติงศภัทิย์. (๒๕๔๓). กฎหมายอาญา ภาค ๒ ตอน ๑ พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วน จำกัด จิรรัชการพิมพ์.
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. (๒๕๖๔). ประมวลกฎหมายอาญา ฉบับอ้างอิง พิมพ์ครั้งที่ ๔๕. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
ธานิศ เกศวพิทักษ์. (๒๕๖๑). คำอธิบายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ภาค ๑ - ๒ เล่ม ๑ พิมพ์ครั้งที่ ๑๔. กรุงเทพมหานคร: บริษัท กรุงสยาม พับลิชชิ่ง จำกัด.
สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล. (๒๕๖๒). ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ฉบับอ้างอิง พิมพ์ครั้งที่ ๑๙. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
บทความ
กรรภิรมย์ โกมลารชุน. (๒๕๖๑). ทฤษฎีกฎหมายเกี่ยวกับมาตรการบังคับทางอาญา : ศึกษาเฉพาะการควบคุม. วารสารวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, ๑๐(๑), ๑-๑๖.
Ajarn Henning Glaser (สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์ ผู้แปล). (๒๕๖๑). การขังในระหว่างการสืบสวนสอบสวนและหลักเกณฑ์การร้องขอในเรื่องดังกล่าวในนิติรัฐ – ภาพกว้างของบทกฎหมายในประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน. ดุลพาห, ๖๕(๑), ๑๐๙ - ๑๓๐.
สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์. (๒๕๖๓). จำเลยอมอวัยวะเพศชายของผู้เสียหายเป็นความผิดอาญาฐานอนาจารโดยการล่วงล้ำหรือเป็นความผิดอาญาฐานอนาจารธรรมดา. บทบัณฑิตย์, ๗๖ (๑), ๒๖๕ - ๒๙๐.
สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์. (อยู่ระหว่างการตีพิมพ์). การตีความถ้อยคำ “... การกระทำเช่นนั้นไม่เป็นความผิดต่อไป...” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒ วรรคสองของศาลฎีกา : ข้อโต้แย้งในทางวิชาการ. วารสารกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ภาษาต่างประเทศ
หนังสือ
Hesse, K. (1995). Grundzuege des Verfassungsrechts der Bundesrepublik Deutschland 20. neubearbeitete Auflage. Heidelberg: C.F. Mueller Verlag.
Joecks, W. & Jaeger, C. (2018). Studienkommentar StGB 12. Auflage. Muenchen: C.H. Beck Verlag.
Katz, A. (1996). Staatsrecht: Grundkurs im oeffentlichen Recht 13 neubearbeitete Auflage. Heidelberg: C.F. Mueller Verlag.
Lackner, K. & Kuehl, K. (2014). StGB Strafgesetzbuch Kommentar 28. Auflage. Muenchen: C.H. Beck Verlag.
Roxin, C. & Schuenemann, B. (2014). Strafverfahrensrecht 28. Auflage. Muenchen: C.H.Beck Verlag.
Schlaich, K. (1997). Das Bundesverfassungsgericht 4. Auflage. Muenchen: C.H. Beck Verlag.
บทความ
Bassier, F. K. (2016). Zur Herleitung der verfassungskonformen Auslegung. Bonner Rechtsjournal, 10(02/2016), 108 – 114.
Berghaeuser, G. (2019). Upskirting und aehnliche Verhaltensweisen Unbefugte fotografische oder filmische Aufnahmen unter der Oberbekleidung. Zeitschrift für Internationale Strafrechtsdogmatik, 14(10/2019), 463 – 475.
Goetz, A. (2010). Die verfassungskonforme Auslegung - zugleich ein Beitrag zu ihrer Stellung im System der juristischen Methodenlehre. Studentische Zeitschrift für Rechtswissenschaft, 2010(1/2010), 27 – 49.
Luedemann, J. (2004). Die verfassungskonforme Auslegung von Gesetzen. Juristische Schulung, 44(1), 27 – 32.
Moellers, T.M.J. (2017). Die Trias von verfassungsorientierter undverfassungskonformer Auslegung sowie der verfassungskonformen Rechtsfortbildung – Ein Beitrag zu mehr Methodenehrlichkeit beim Streit zwischen den beiden Senaten des BVerfG. In Lorenzmeier, S. & Folz, H.P. (Ed.). Recht und Realität: Festschrift für Christoph Vedder. (p. 721-749). Baden-Baden: Nomos Verlag.
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
Bundesverfassungsgericht. Jaresstatistik 2020. Retrieved from http://bundesverfassungsgericht.de.