ศึกษาเปรียบเทียบเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ในการป้องกันอาชญากรรมระหว่างต่างประเทศและประเทศไทย

Main Article Content

กุญชนิตา กุญชร ณ อยุธยา

บทคัดย่อ

        ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ไม่เพียงแต่สร้างความตื่นเต้นให้กับผู้คนมากมาย แต่ยังสร้างความตระหนกด้วยเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะการเติบโตของอาชญากรรมไซเบอร์ เพราะเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ที่มากขึ้นเรื่อย ๆ แม้ว่าเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์จะทำให้อาชญากรรมมีความซับซ้อนและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ในทางกลับกันด้านการป้องกันอาชญากรรม หน่วยงานด้านป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทั่วโลกก็เห็นความสำคัญของการนำเทคโนโลยี มาใช้ในการป้องกันอาชญากรรมเช่นกัน โดยในต่างประเทศได้มีการนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในการป้องกันอาชญากรรมมานานแล้ว ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีบันทึกข้อมูลอาชญากรรม ซึ่งเป็นฐานข้อมูลอาชญากรรมขนาดใหญ่ มีเป้าหมายในการลดอัตราการเกิดอาชญากรรมโดยการนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาแนวโน้มการก่อเหตุที่จะเกิดขึ้น และมีบทบาทสำคัญในการช่วยให้การทำงานของตำรวจให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น สำหรับประเทศไทยการนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในการป้องกันอาชญากรรม หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเริ่มนำเทคโนโลยีดังกล่าวมาใช้มากขึ้น แต่ยังอยู่ในระยะทดลองเท่านั้น รวมถึงยังไม่มีกฎหมายที่ชัดเจนในการกำกับดูแลเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์


        ผู้เขียนจึงมีความเห็นว่า การศึกษาเปรียบเทียบกรณีการนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ของต่างประเทศกับประเทศไทยในการป้องกันอาชญากรรม รวมถึงเปรียบเทียบด้านการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างละเอียด จะทำให้หน่วยงานด้านการป้องปรามอาชญากรรม มีแนวทางในการพัฒนาหรือเลือกสรรเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ที่เหมาะสมมาใช้เพื่อป้องกันอาชญากรรมได้

Article Details

บท
บทความทางวิชาการ

References

หนังสือ

ภาษาต่างประเทศ

Andrew Guthrie Ferguson, The Rise of Big Data Policing: Surveillance, Race, and the Future of Law Enforcement (NYU Press 2017).

C. Kiran Mai and others (eds), Proceedings of International Conference on Advances in Computer Engineering and Communication Systems (Springer 2020).

Derek B. Cornish and Ronald V. Clarke, Crime as rational choice (Springer Verlag 1986).

John E. Eck and David Weisburd, Crime and place: Crime prevention studies (4th edn, Criminal Justice Press 1995).

บทความ

ภาษาอังกฤษ

Alkesh Bharati and Dr. Sarvanaguru RA.K, ‘Crime Prediction and Analysis Using Machine Learning’ (2018) 5(9) International Research Journal of Engineering and Technology 1037.

A.M. Turing, ‘Computing Machinery and Intelligence’ (1950) 59(236) Mind 433, 433- 460 <https://doi.org/10.1093/mind/LIX.236.433> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

Christopher Rigano, ‘Using Artificial Intelligence to Address Criminal Justice Needs’ (2019) 280 National Institute of Justice 1.

Fatima Dakalbab and others, ‘Artificial intelligence & crime prediction: A systematic literature review’ (2022) 6 Social Sciences & Humanities Open 2.

George Mohler and others, ‘Randomized controlled field trials of predictive policing’ (2015) 110(512) Journal of the American Statistical Association 1399.

Keith J. Hayward and Matthijs M. Maas, ‘Artificial intelligence and crime: A primer for criminologists’ (2020) 17(2) Crime, Media, Culture: An International Journal 1 <https://matthijsmaas.com/uploads/Hayward%20and%20Maas%20-%202020%20-%20Artificial%20intelligence%20and%20crime%20A%20primer%20for%20cr.pdf> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

Napa Sae-Bae and others, ‘Towards automatic detection of child pornography’ (2014 IEEE International Conference on Image Processing (ICIP), Paris, France, 2014).

William J. Bratton and Sean Malinowski, ‘Police performance management in practice: Taking COMPSTAT to the next level’ (2008) 2 Policing: A Journal of Policy and Practice 259.

Yunlong Zhang and Lori M. Bruce, ‘Mississippi Transportation Research Center: Automaged Accident Detection at Intersections’ (U.S. Department of Transportation Federal Highway Administration, 2004).

เว็บไซต์

ภาษาไทย

กองบรรณาธิการข่าว BBC THAI, ‘สำรวจเหตุกราดยิงในสหรัฐฯ ตลอดปี 2023’ (BBC, 2023) <https://www.bbc.com/thai/articles/cyr1zm64xdeo> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

เจษฎา จันทรรักษ์, ‘ใช้ AI ช่วยตำรวจดูแลความปลอดภัยสาธารณะ’ (คมชัดลึก, 2019) <https://www.komchadluek.net/scoop/381560> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

ผู้จัดการออนไลน์, ‘“หยุดอาชญากรรม ก่อนเกิด” นวัตกรรมใหม่ ตร.ภาค 2 จับมือ สจล. ใส่ AI ในกล้อง CCTV’ (ผู้จัดการออนไลน์, 2022) <https://mgronline.com/onlinesection/detail/9650000122045> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์, ‘ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการภาครัฐ’ (2021) <https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-Sharing/Articles/AI-inGovernment-Services> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

หน่วยบริหารจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ, ‘บพข. ร่วมกับตำรวจผลักดันเมืองอัจฉริยะป้องกันอาชญากรรม’ (PMUC, 2022) <https://pmuc.or.th> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

ภาษาอังกฤษ

Asif Anwar and others, ‘crime-prediction-using-naive-bayes-algorithm’ (extrudesign, 2021) <https://extrudesign.com> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

Beth Duff-Brown, ‘Melding AI with health care and policy to combat human trafficking’ (SIEPR, 2021) <https://siepr.stanford.edu/news/melding-ai-health-care-and-policy-combat-human-trafficking> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

Eastnets, ‘How to use AI to combat money laundering’ (Eastnets, no publication date) <https://www.eastnets.com/newsroom/how-to-use-ai-to-combat-money-launderin> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

Fox News, ‘Preventing mass shootings with AI detection: Navy SEALs-inspired invention’ (2023) <https://www.foxnews.com/tech/preventing-mass-shootings-ai-detection-navy-seals-inspired-invention> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

George L. Kelling and James Q. Wilson, ‘Broken Windows. The police and Neighborhood Safety’ (The Atlantic, 1982) <https://www.theatlantic.com/magazine/archive/1982/03/broken-windows/304465/> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

Harry B., ‘The Role of AI in Detecting Crypto Scams and Frauds’ (LinkedIn, 2023) <https://www.linkedin.com/pulse/role-ai-detecting-crypto-scams-frauds-harry-b--vepde/> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

Kalea Texeira, ‘Advancements in AI-Powered Threat Detection and Prevention: Enhancing Cybersecurity with Artificial Intelligence’ (LinkedIn, 2023) <https://www.linkedin.com/pulse/advancements-ai-powered-threat-detection-prevention-kalea-texeira-tcvec/> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

Matej Kovačič, ‘Detecting Illegal And Offensive Content With AI’ (eu-japan, 2022) <https://www.eu-japan.ai/detecting-illegal-and-offensive-content-with-ai/> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

Rachel Z. Arndt, ‘Artificial intelligence takes on medical imaging’ (Modern Healthcare, 2017) <https://www.modernhealthcare.com/article/20170708/TRANSFORMATION03/170709944/artificial-intelligence-takes-on-medical-imaging> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

Vaak, ‘Product loss reduction Store visualization’ (Vaak, 2024) <https://vaak.co/case-palhd/> สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2567.

รายงานผลการวิจัย

ภาษาอังกฤษ

Pooja Agarwal and others, ‘Research Paper on Artificial Intelligence’ (2013) 2(6) Case Studies Journal 7.