ตำหนักทรงเจ้าในประเทศไทย: ความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์ และการจำแนกตามกลุ่มความหมายในการตั้งชื่อ ตำหนักทรงเจ้าในประเทศไทย: ความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์และการจำแนกตามกลุ่มความหมายในการตั้งชื่อ

Main Article Content

Siravast Kavilanan
พูนพงษ์ งามเกษม
ภัทรพงษ์ ผลโภชน์

บทคัดย่อ

      การทรงเจ้าเป็นความเชื่อที่อยู่คู่กับสังคมไทยมานาน ในปีพ.ศ. 2564 มีรายชื่อตำหนักทรงเจ้าในประเทศไทยถึง 108 รายชื่อ ชื่อตำหนักทรงเจ้าเหล่านี้ตั้งชื่อต่างกันออกไปและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว การวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษาความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์และศึกษากลุ่มความหมายในการตั้งชื่อตำหนักทรงเจ้าในประเทศไทย โดยการเก็บข้อมูลจากแผนที่กูเกิล จำนวน 108 รายชื่อ ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์พบว่า รายชื่อดังกล่าวมีโครงสร้างสามัญ 27 รายชื่อ คิดเป็นร้อยละ 25.00 ของรายชื่อทั้งหมด มีขีดขั้นความซับซ้อนระหว่างหน่วยหลักกับหน่วยขยายตั้งแต่ 2-4 ชั้น เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ความซับซ้อน 2 ชั้น จำนวน 52 รายชื่อของรายชื่อทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 48.15 ของรายชื่อทั้งหมด ซับซ้อน 3 ชั้น จำนวน 22 รายชื่อ คิดเป็นร้อยละ 20.37 ของรายชื่อทั้งหมด และซับซ้อน 4 ชั้น จำนวน 7 รายชื่อ คิดเป็นร้อยละ 6.48 ของรายชื่อทั้งหมด เมื่อจำแนกกลุ่มความหมายพบว่า หน่วยหลักมีชื่อกลุ่มญาติพี่น้องมากที่สุด จึงแสดงให้เห็นบทบาทความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งศักดิ์สิทธิ์กับเจ้าของตำหนักทรงเจ้าและผู้คนที่ศรัทธา ส่วนในหน่วยขยายมีชื่อของสิ่งศักดิ์สิทธิ์มากที่สุด รวมทั้งมีโครงสร้างที่ซับซ้อนมากกว่าหน่วยหลัก จึงแสดงให้เห็นว่า หน่วยขยายเป็นส่วนที่จะระบุตัวตนหรือแสดงตัวตน พร้อมกับแสดงอิทธิฤทธิ์หรือบารมีของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ดังนั้นจึงแสดงให้เห็นว่าแม้สังคมไทยจะมีศาสนาพุทธเป็นศาสนาหลักของชาติ แต่การดำเนินชีวิตของคนไทยก็ยังมีพื้นที่แห่งความเชื่อและความศรัทธาต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในศาสนา“พราหมณ์-ฮินดู” และในลัทธิ “ผี” ที่เป็นความเชื่อดั้งเดิมควบคู่กันไปได้อย่างลงตัว

Downloads

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

Chaisomkhun, P. (2017). Housing Estates Naming in Chiang Mai. Journal of Language, Religion and Culture, 6(1), 35-58.

Chau, N. T. T. (2018). Culture Reflected in Address Terms in Thai and Vietnamese Languages. Journal of Mekong Societies, 13(3), 77-99.

Forbid Thailand and China to worship in different places and graciously to sell fresh water to the people. (1890, January 18). Royal Thai

Government Gazette, 7(42), 375.

Hongladarom, K. (2009). Indexicality in Thai and in Tibetan: Implications for a Buddhism grounded Approach. Journal of Pragmatics.

(1), 47-59.

Indrambarya, K. (2016). Morphology. Bangkok: Faculty of Humanities, Kasetsart University.

Jiranantanaporn, S. & Singnoi, U. (2005). Toponyms in the Lower Northern Part of Thailand. Phitsanulok: Faculty of Humanity, Naresuan

University.

Kavilanan, S. (2011). Noun Compounding in Sukhothai Stone Inscriptions (Master’s thesis). Naresuan University, Phitsanulok.

Kittiasa, P. (2001). Spirt Mediumship and Popular Healtheare Practices in Thailand. Nakhon Pathom: Princess Maha Chakri Sirindhorn

Anthropology Centre.

Lehrer, A. (1974). Semantic Fields and Lexical Structure. Amsterdam: North Holland.

Matthews, R. H. (1991). Morphology. Cambridge: Cambridge University Press.

Mueansamai, P. (2019). The Naming of Dogs in Thailand: A Reflection of Thai Society. Manutsayasat Wichakan, 26(2), 316-346.

Na Thalang, S. (1996). Thai Family. In Thai Encyclopedia for Youth (Vol. 22 Issue 7). Bangkok: Thai Junior Encyclopedia Foundation by His

Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great.

NGThailand. (2018). Reveal the circle of mediums from a perspective that you may not have known. Retrieved from

https://ngthai.com/cultures/13172/spirit-medium/.

Nida, E. A. (1975). Componential Analysis of Meaning. The Hague: Mouton.

Petthongna, K. (2011). The criteria and strategies used in Thai Yantras naming. Wichcha Lournal Nakhon Si Thammarat Rajabhat

University, 30(1), 21-35.

Phongsawat, C. (2013). Where Does a Worship of Rukkhatewada in Thai Society Get an Influence from Hinduism or Buddhism? Institute

of Culture and Arts Journal, 15(1), 1-11.

Pongsapich, A. (2006). Cultural Diversity: Paradigms and Role in Civil Society. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Prasithrathsint, A. (2013). Sociolinguistics. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Rattanawijan, S. & Srimuang, D. (2020). Ram Mae Bot Yai : Naming Postures and Cultural and Social Reflections. Journal of Management

Science Review, 22(2), 159-168.

Royal Society. (2013). Royal Institute Dictionary. Bangkok: Nanmeebooks.

Shoocongdej, R. (2016). Log Coffin Culture of Thailand in the Southeast Asian Context. Bangkok: Charan Sanit Wong Press.

Singnoi, U. (2005). Noun Compounding in Thai. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Siriwatananawin, W. (2001). The Study of Thais Naming. Nakorn Pathom: Thai Thesis Database.

Thepkraiwan, T. & Sroikudrua, T. (2018). Language Use in Facebook Names of Thai High School Students in Khon Kaen Province. KKU

International Journal of Humanities and Social Sciences, 8(1), 185-207.

Wongthai, N. (2012). Conceptual metaphors of death in Thai. Journal of Language and Culture, 31(1), 44-64.