The Reminiscence of the Migration of Japanese to Siam during the Meiji Period
Main Article Content
Abstract
งานวิจัยชิ้นนี้ต้องการศึกษาความเป็นมา แนวคิด และวิธีการอพยพแรงงานญี่ปุ่นออกไปยังต่างประเทศและความสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่น-ไทยที่เกี่ยวกับการอพยพ ผลจากการศึกษาพบว่าการปฎิรูปประเทศสมัยเมจิไม่ได้มีเฉพาะภาพแห่งความสำเร็จ แต่การเปลี่ยนแปลงประเทศเข้าสู่ยุคสมัยใหม่นั้นได้ส่งผลต่อสังคมและเศรษฐกิจในช่วงแรก โดยเฉพาะปัญหาการเพิ่มขึ้นของประชากและปัญหาความยากจน ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหาและเพื่อการขยายอำนาจตามแนวคิดของญี่ปุ่น รัฐบาลจึงสนับสนุนให้ส่งออกแรงงานไปยังภูมิภาคต่าง ๆ ทั้งในรูปแบบที่รัฐบาลจัดส่งไปโดยตรงและให้บริษัทเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ และในช่วงเวลาดังกล่าวญี่ปุ่น-ไทยเพิ่งเริ่มเปิดความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการ ไทยจึงเป็นพื้นที่หนึ่งที่ญี่ปุ่นให้ความสำคัญและสนใจที่จะส่งแรงงานอพยพมา มีการส่งผู้อพยพชาวญี่ปุ่นมาไทย 2 ครั้งและกระทรวงการต่างประเทศได้ส่งเจ้าหน้าที่มาสำรวจพื้นที่ของไทยเพื่อพิจารณาความเหมาะสมที่จะจัดส่งผู้อพยพมา ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ประเทศในช่วงเวลาดังกล่าวจึงเป็นเรื่องของการพึ่งพากันภายใต้ผลประโยชน์แห่งชาติที่สอดคล้องกัน
Article Details
ข้อความและข้อคิดเห็นต่างๆ ในบทความเป็นของผู้เขียนบทความนั้นๆ ไม่ใช่ความเห็นของกองบรรณาธิการหรือของวารสาร jsn Journal
References
ชมรมคนรักศรีราชา. (ม.ป.ป.). คนดี คนเด่น คนเก่ง ศรีราชา จอมพลมหาอำมาตย์เอกเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี. เข้าถึงได้จาก ชมรมคนรักศรีราชา: http://www.konruksriracha.in.th/15418720/จอมพลมหาอำมาตย์เอกเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี
ชลดา โกพัฒตา. (1996). ญี่ปุ่น-สยามสมาคม: สัมพันธภาพระหว่างไทยกับญี่ปุ่นในทศวรรษ 2470-2480. ญี่ปุ่นศึกษา, 13(2), 88-119. เข้าถึงได้จาก https://tci-thaijo.org/index.php/japanese/article/view/52135/43209
ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ. (2521). การผลิตและการค้าข้าวในภาคกลางตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 (พ.ศ. 2411-2475). วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, แผนกวิชาประวัติศาสตร์.
นงลักษณ์ ลิ้มศิริ. (2561). ญี่ปุ่น-ไทย ใน “รายงานการเดินทางสำรวจประเทศสยาม” ใน ศิริพร วัชชวัลคุ, (บรรณาธิการ) ญี่ปุ่นหลากมิติ. (15-65.). กรุงเทพ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นันท์ชญา มหาขันธ์. (2018). การศึกษาของญี่ปุ่นในยุคการปฏิรูปการศึกษาสมัยเมจิ ผ่านการศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมเด็กเรื่อง “องุ่นหนึ่งพวง” และ “เซเบกับน้ำเต้า”. วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา, 8(1), 59-77. เข้าถึงได้จาก สมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทย: https://jsat.or.th/jsn-journal/jsn-vol-8-no-1-2018/การศึกษาของญี่ปุ่นในยุ/
ปิยะนุช วิริเยนะวัตร์. (2549). ภาพผู้หญิงญี่ปุ่นที่สะท้อนในงานเขียนสมัยเมจิ. ศิลปศาสตร์, 6(1), 196-228. เข้าถึงได้จาก https://tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/13692/12340
พวงเพชร สุรัตนกวีกุล. (2516). เปรียบเทียบผลงานของเสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ พ.ศ. 2435-2475 (ค.ศ. 1892-1932). วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, แผนกวิชาประวัติศาสตร์.
เพ็ญศรี กาญจโนมัย. (2538). ญี่ปุ่นสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: เนติกุลการพิมพ์.
ลักษมี รัตตสัมพันธ์. (2516). จอมพลเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีกับการดำเนินงานธุรกิจของท่าน ระหว่าง พ.ศ. 2428-2474. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, แผนกวิชาประวัติศาสตร์.
วุฒิชัย มูลศิลป์. (2551). วิเคราะห์เปรียบเทียบไทย - จีน - ญี่ปุ่น ในยุคจักรวรรดินิยมใหม่. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทย. (16 มกราคม 2017). เป้าหมายการทำงานของเอกอัครราชทตูซะโดะชิมะ. เข้าถึงได้จาก สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทย: https://www.th.emb-japan.go.jp/th/policy/policy_statement_sadoshima.pdf
สุนทรี อาสะไวย์. (2530). ประวัติคลองรังสิต: การพัฒนาที่ดินและผลกระทบต่อสังคมไทย พ.ศ. 2431-2457. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
สุรางค์ศรี ตันเสียงสม. (2520). ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณทิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, แผนกวิชาประวัติศาสตร์.
อิชิอิ โยเนะโอะ และ โยชิกาวะ โทชิฮารุ. (2542). ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี(พิมพ์ครั้งที่ 2). (ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, สายชล วรรณรัตน์, บรรณาธิการแปล, พลับพลึง คงชนะ, มารศรี มียาโมโต, และ อาทร ฟุ้งธรรมสาร, ผู้แปล) กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
Enomoto Takeaki. (n.d.). Retrieved from Wikipedia: https://en.wikipedia.org/wiki/Enomoto_Takeaki
Gannen mono – the first overseas emigrants. (n.d.). Retrieved from 100 years of Japanese Emigration to Brazil: http://www.ndl.go.jp/brasil/e/s1/s1_1.html
Gary, Y. Okihiro. (1991). Cane Fires: The Anti-Japanese Movement in Hawaii, 1865-1945. Retrieved from https://www.jstor.org/stable/j.ctt14bt6px
Glenn, E. N. (1986). Issei, Nisei, War Bride: Three Generations of Japanese American Women in Domestic Service. Retrieved from https://www.jstor.org/stable/j.ctt14bt697
Ichioka, Y. (1988). The Issei: The world of the First Generation Japanese Immigrants, 1885-1924. New York: Free Press.
Inagaki Manjiro. (n.d.). Retrieved from Wikipedia: https://en.wikipedia.org/wiki/Inagaki_Manjiro
Japan International Cooperation Agency (JICA). (2015). Japanese Overseas Migration Museum. Yokohama: Japan International Cooperation Agency.
Kornicki, P. F. (1998). Meiji Japan: Political, Economic and Social History, 1868-1912. London; New York: Routledge.
Nippon.com. (2018). Record Number of Japanese Living Overseas. Retrieved from https://www.nippon.com/en/features/h00232/record-number-of-japanese-living-overseas.html.
O, Hosok. (2010). Cultural Analysis of the Early japanese Immigration to the United States During Meiji to Taisho Era 1868 - 1926. (Doctoral dissertation, Oklahoma State University). Retrieved from http://digital.library.okstate.edu/etd/O_okstate_0664D_11126.pdf
Yoshida, Y. (1909). Sources and Causes of Japanese Emigration. The Annals of the American Academy of Political and Social Science, 34 (2), 157-167. Retrieved from https://www.jstor.org/stable/1011222?seq=1#metadata_info_tab_contents
外務省, (1894).「在新嘉坡斎藤領事暹羅國へ出張ノ件 機密送第二号 明治二十七年二月二十三日」(新嘉坡領事官報告書第一巻).
今野敏彦、藤崎康夫. (eds.). (1984).「移民史 I 南米」. 東京: 新泉社.
___________. (eds.). (1985). 「移民史 II アジア・オセアニア」. 東京: 新泉社.
____________ (eds.). (1986). 「移民史IIIアメリカ・カナダ」.東京: 新泉社.
齋藤幹. (1894). 「暹羅国出張取調書」東京: 外務省通商局第二課.
坂口満宏. (2010). 「誰が移民を送り出したのか : 環太平洋における日本人の国際移動・概観. 」. Retrieved from http://r-cube.ritsumei.ac.jp/repo/ repository/rcube/4582/ IILCS_21.pdf
丹野 勲. (2015). 「明治日本の海外移民、移住・殖民政策と南進論 -南洋、南方アジアを中心として-」. Retrieved from http://klibredb.lib. kanagawa-u.ac.jp/dspace/bitstream/10487/13526/1/
丹野 勲. (2015). 「戦前日本企業のフィリピン進出とダバオへのマニラ麻事業進出の歴史と戦略」. Retrieved from http://klibredb.lib.kanagawa-u.ac.jp/dspace/ bitstream/10487/13347/1/50-03.pdf
村嶋英治. (2013). 「戦前期タイ国の日本人会および日本人社会:いくつかの謎の解明」. 100年史編集委員会 (編集), タイと共に歩んで、泰国日本人会百年史 (頁13-49). バンコク: 泰国日本人会. Retrieved from http://www.jat.or.th/wp-content/uploads/2014/06/100 years’ history of JAT.pdf.
村嶋 英治. (2016). 「1890 年代に於ける岩本千綱の冒険的タイ事業:渡タイ(シャム)前の
経歴と移民事業を中心に(上)」.アジア太平洋討究26, (頁157-223). Retrieved from https://waseda.repo.nii.ac.jp/?action=repository_uri&item_id=25567&file_id=162&file_no=1
広島県ホームページ. (2017). 郷土ひろしまの歴史 II -「明治時代の民衆とひろしま~海外への移民~」. Retrieved from https://www.pref. hiroshima.lg.jp/uploaded/attachment/129736.pdf
柳沼孝一郎. (1999). 「 ディアス政権の産業振興・殖民政策と日本人移民 : メキシコのコーヒー
産業と日本人殖民構想の史的背景」Retrieved from http://www.js3la.jp/journal/pdf/ronshu33/33 yanaginuma.pdf
吉川利治. (1978). 「‘アジア主義’者のタイ国進出~明治期の~局面~」. 東南アジア研究 , 16(1), (頁78-93). Retrieved from https://repository. ulib.kyoto-u.ac.jp/dspace/bitstream/2433/55906/1/ KJ00000133292. pdf