Everlasting Mythos: Re-examination of the Collective Memory in Thailand Regarding World War II
Main Article Content
Abstract
This paper focuses on three stories concerning the history of World War II in Thailand, on which a widespread ‘mythos’ is inconsistent with ‘history’, which can be confirmed by reliable sources: 1) Japanese ‘spy stories’; 2) Casualties of Thai and Japanese sides on 8 December 1941; 3) Thai-Burma Railway (‘Death Railway’): the role of Allied POWs and the attitudes of Thai government and local residents. Sources include interviews, eyewitness accounts, archived documents and personal memories written by ex-soldiers. I conclude by attempting to clarify the basis for the discrepancies between stories or mythos and history.
ตำนานที่ไม่มีที่สิ้นสุด: ตรวจสอบความทรงจำร่วมในประเทศไทยเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่สอง
เคนจิ โอดะ*
ในบทความนี้มุ่งพิจารณาเรื่องราวในประวัติศาสตร์ สงครามโลกครั้งที่สองในไทยสามเรื่องด้วยกัน คือ 1) พ่อค้าและ นายแพทย์ชาวญี่ปุ่นที่อยู่ในประเทศไทยก่อนสงครามล้วนเป็น สายลับ 2) วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 กองทัพและตำรวจไทย สามารถต้านทานกองกำลังญี่ปุ่นที่กำลังยกพลขึ้นบกได้ ในแต่ละ สมรภูมิสังหารทหารญี่ปุ่นไปราว 200-300 คน โดยที่ฝ่ายไทยได้ รับความสูญเสียน้อยมาก 3) ในช่วงการสร้างทางรถไฟสายไทย- พม่ารัฐบาลไทยและชาวบ้านในท้องถิ่นได้ช่วยเหลือเชลยศึกชาว บริเตน ออสเตรเลีย อเมริกันและดัตช์ และต่อต้านการยึดครอง ของญี่ปุ่น โดยศึกษาหลักฐานต่างๆ ทั้งจากการสัมภาษณ์ บันทึก ของผู้เห็นเหตุการณ์ เอกสารจดหมายเหตุ และบันทึกความทรง จำ ส่วนบุคคลที่เขียนโดยอดีตทหารญี่ปุ่น ผู้เขียนได้แสดงให้เห็น ถึงความแตกต่างระหว่างเรื่องเล่าหรือตำนานกับประวัติศาสตร์
* อาจารย์ประจำ สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, ที่อยู่: 181 หมู่ที่ 6 ถนนเจริญประดิษฐ์ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
Article Details
ข้อความและข้อคิดเห็นต่างๆ ในบทความเป็นของผู้เขียนบทความนั้นๆ ไม่ใช่ความเห็นของกองบรรณาธิการหรือของวารสาร jsn Journal