ISSN: 2586-9973 (Print)
ISSN: 2774-132X (Online)
วารสาร Mahidol Music Journal ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (เดือนกันยายน - กุมภาพันธ์) ได้รับเกียรติจากนักวิชาการ อาจารย์ นิสิต นักศึกษา และนักวิจัยส่งผลงานเพื่อตีพิมพ์บทความอย่างต่อเนื่อง และด้วยปณิธานในการสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการดนตรี เป็นพื้นที่ในการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางวิชาการ วารสารในฉบับนี้จึงมีงานเขียนภายใต้หัวข้อเรื่องที่หลากหลายทั้งทางด้านดนตรีศึกษา ดนตรีไทย ดนตรีวิทยา ดนตรีตะวันตก และดนตรีบำบัด
จากการจัดกลุ่มคุณภาพวารสารเข้าสู่ฐานข้อมูลศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Centre - TCI) ในรอบปี พ.ศ. 2565 นั้น วารสาร Mahidol Music Journal ได้รับการจัดอันดับให้อยู่กลุ่ม 1 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2567
วารสาร Mahidol Music Journal ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (เดือนมีนาคม - สิงหาคม) ได้รับเกียรติจากนักวิชาการ อาจารย์ นิสิต นักศึกษา นักวิจัยจำนวนมากที่ส่งผลงานเพื่อตีพิมพ์บทความอย่างต่อเนื่อง และด้วยปณิธานในการสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการดนตรี เป็นพื้นที่ในการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางวิชาการ วารสารในฉบับนี้จึงมีงานเขียนภายใต้หัวข้อเรื่องที่หลากหลายภายใต้ประเด็นทางดนตรีที่น่าสนใจ รวมทั้งสิ้น 12 บทความคุณภาพ
จากการจัดกลุ่มคุณภาพวารสารเข้าสู่ฐานข้อมูลศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Centre - TCI) ในรอบปี พ.ศ. 2565 นั้น วารสาร Mahidol Music Journal ได้รับการจัดอันดับให้อยู่กลุ่ม 1 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2567
วารสาร Mahidol Music Journal ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (เดือนกันยายน-กุมภาพันธ์) ได้รับเกียรติจากนักวิชาการ อาจารย์ นิสิต นักศึกษา นักวิจัยจำนวนมากที่ส่งผลงานเพื่อตีพิมพ์บทความอย่างต่อเนื่อง และด้วยปณิธานในการสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการดนตรี เป็นพื้นที่ในการแผยแพร่ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางวิชาการ วารสารในฉบับนี้จึงมีงานเขียนภายใต้หัวข้อเรื่องที่หลากหลายภายใต้ประเด็นทางดนตรีที่น่าสนใจ ทั้งในเรื่องการผลิตเครื่องดนตรี คุณลักษณะจำเพาะของเครื่องดนตรี พลวัตและงานสร้างสรรค์ทางดนตรี รวมทั้งสิ้น 10 บทความคุณภาพ โดยแบ่งออกเป็น บทความวิจัย จำนวน 7 เรื่อง อาทิ คุณลักษณะและบทบาทของพิณเปี๊ยะในสังคมดนตรีล้านนาร่วมสมัย วิจิตรลักษณ์ในบทเพลงตามแนวตำรับครูทองดี สุจริตกุล และบทความวิชาการ จำนวน 3 เรื่อง อาทิ เพลงดนตรี ในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอสมุดวชิรญาณ
จากการจัดกลุ่มคุณภาพวารสารเข้าสู่ฐานข้อมูลศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Centre - TCI) ในรอบปี พ.ศ. 2565 นั้น วารสาร Mahidol Music Journal ได้รับการจัดอันดับให้อยู่กลุ่ม 1 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2567
วารสาร Mahidol Music Journal ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (เดือนมีนาคม-สิงหาคม) ได้รับเกียรติจากนักวิชาการ อาจารย์ นิสิต นักศึกษา นักวิจัยจำนวนมาก ส่งผลงานมาเพื่อตีพิมพ์บทความอย่างต่อเนื่อง และด้วยปณิธานในการสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการดนตรี เป็นพื้นที่ในการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และสาระทางวิชาการ วารสารในฉบับนี้จึงมีงานเขียนภายใต้หัวข้อเรื่องที่หลากหลายและน่าสนใจรวมทั้งสิ้น 8 บทความคุณภาพ โดยแบ่งออกเป็น บทความวิจัย จำนวน 3 เรื่อง และบทความวิชาการ จำนวน 5 เรื่อง
จากการจัดกลุ่มคุณภาพวารสารเข้าสู่ฐานข้อมูลศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Centre - TCI) ในรอบปี พ.ศ. 2565 นั้น วารสาร Mahidol Music Journal ได้รับการจัดอันดับให้อยู่ในกลุ่ม 1 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2567
วารสาร Mahidol Music Journal ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (เดือนกันยายน-กุมภาพันธ์) ทางกองบรรณาธิการมีความมุ่งหวังที่จะพัฒนาและยกระดับมาตรฐานของวารสารให้เป็นไปตามความมุ่งหมาย เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านดนตรีและแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการ งานวิจัย งานสร้างสรรค์ทางดนตรี ฯลฯ โดยบทความที่ตีพิมพ์ได้ผ่านการพิจารณากลั่นกรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer review) 3 ท่าน ทั้งนี้ เพื่อรักษาไว้ซึ่งคุณภาพมาตรฐานของวารสารฯ ให้เป็นแหล่งค้นคว้าอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ และเพื่อให้เกิดการยอมรับอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้นต่อไป ได้แก่ ภูมิปัญญาและเทคนิควิทยาการใช้ไม้ในการสร้างเครื่องดนตรีล้านนา โดย สงกรานต์ สมจันทร์ กระฎุมพี - ผู้ดีใหม่ กับพัฒนาการดนตรีไทยต้นรัตนโกสินทร์ โดย ทรงพล เลิศกอบกุล องค์ความรู้ซอสามสายสำนักพระยาภูมีเสวิน (จิตร จิตตเสวี) โดย สถิตย์สถาพร สังกรณีย์ ลาวเชิญ “ผี” : ความหมายและบทบาทในฐานะเพลงประกอบการแสดง โดย ธำมรงค์ บุญราช และชุดกิจกรรมดนตรีเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สำหรับเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาล 1 โรงเรียนวัดด่านสำโรง โดย ชาธิษากมณฐ์ ธิติกุลธรณ์
วารสาร Mahidol Music Journal ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (เดือนมีนาคม-สิงหาคม) ได้รับเกียรติตีพิมพ์บทความจากนักวิชาการ อาจารย์ นิสิต นักศึกษา นักวิจัย จากหน่วยงานภายในและภายนอก เพื่อใช้เป็นพื้นที่ในการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านดนตรีอย่างเข้มแข็ง ภายใต้หัวข้อเรื่องที่หลากหลายและน่าสนใจรวมทั้งสิ้น 5 บทความคุณภาพ ได้แก่ ดนตรีในพิธีเผาปราสาทนกหัสดีลิงค์ สำนักวัดเกาะกลาง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดย ภาณุภัค โมกขศักดิ์ “ลำโสม” ต้นกำเนิดลำสีพันดอน ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดย กฤษฎา สุขสำเนียง คีตลักษณ์วิเคราะห์ในเพลงไทย โดย ปกรณ์ หนูยี่ การใช้เนื้อเพลงเพื่อการสื่อสารทางการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของธุรกิจค่ายเพลงในประเทศไทย กรณีศึกษาเฟซบุ๊กแฟนเพจ โดย เพียงรำไพ สิทธิโสภณ และการพัฒนาแบบฝึกเพื่อการบรรเลงเดี่ยวขิมเพลงลาวแพน โดย กันตภน เรืองลั่น
วารสาร Mahidol Music Journal ได้ตีพิมพ์มาถึงฉบับที่ 3 ปีที่ 2 ซึ่งกองบรรณาธิการมีความมุ่งหวังที่จะพัฒนาและยกระดับมาตารฐานของวารสาร เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของวารสารในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ทางดนตรีหรือสหวิทยาการที่เกี่ยวกับดนตรี และเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการ ความก้าวหน้าในงานวิจัยทางสาขาที่เกี่ยวข้องกับดนตรีอีกด้วย โดยบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารได้ผ่านการกลั่นกรองจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้น ๆ
วารสาร Mahidol Music Journal ได้ตีพิมพ์มาถึงฉบับที่ 3 ปีที่ 1 ซึ่งกองบรรณาธิการมีความมุ่งหวังที่จะพัฒนาและยกระดับมาตารฐานของวารสาร เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของวารสารในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ทางดนตรีหรือสหวิทยาการที่เกี่ยวกับดนตรี และเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการ ความก้าวหน้าในงานวิจัยทางสาขาที่เกี่ยวข้องกับดนตรีอีกด้วย โดยบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารได้ผ่านการกลั่นกรองจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้น ๆ อย่างเข้มข้น
ISSN: 2586-9973 (Print)
ISSN: 2774-132X (Online)
Mahidol Music Journal
College of Music, Mahidol University
25/25 Phutthamonthon Sai 4 Road Salaya, Phutthamonthon Nakhonpathom, 73170 Thailand
Telephone : (662) 800-2525-34 ext. 1108, 1124
Fax : (662) 800 2530
Email : mahidolamj@gmail.com