ทัศนคติต่อการพัฒนาทักษะการใช้ความคิดเชิงวิจารณญาณในการเรียนวรรณคดีของผู้เรียนภาษาอังกฤษ เป็นภาษาต่างประเทศในระดับมหาวิทยาลัย

Main Article Content

วาทิตพันธ์ มาตมูล
สุกัญญา เกาะวิวัฒนากุล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติต่อการพัฒนาทักษะการใช้ความคิดเชิงวิจารณญาณในการเรียนวรรณคดี ของผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ ในระดับมหาวิทยาลัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถามทัศนคติต่อการพัฒนาทักษะการใช้ความคิดเชิงวิจารณญาณในการเรียนวรรณคดี ประกอบไปด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้และความเข้าใจต่อการใช้ความคิดเชิงวิจารณญาณ ด้านเนื้อหาวิชาวรรณคดี ด้านวิธีการสอน ด้านการประเมินผล และด้านปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มประชากรคือ นิสิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ชั้นปีที่ 4 จำนวน 105 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลได้แก่ แบบสำรวจทัศนคติ ผลการวิจัยพบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่ตระหนักถึงความสำคัญของการเรียนวรรณคดี ในการช่วยพัฒนาทักษะการใช้ความคิดเชิงวิจารณญาณ โดยผู้เรียนเข้าใจและทราบถึงความหมายของความคิดเชิงวิจารณญาณ นอกจากนี้ยังเห็นด้วยว่าเนื้อหาวิชาวรรณคดีมีผลต่อการพัฒนาทักษะการใช้ความคิด เชิงวิจารณญาณ โดยวิธีการสอนโดยให้แสดงบทบาทสมมุติช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณมากที่สุด สำหรับการประเมินผลที่สามารถพัฒนาการคิดเชิงวิจารณญาณมากที่สุด คือ การเขียนเชิงสร้างสรรค์ ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการพัฒนาทักษะการใช้ความคิดเชิงวิจารณญาณ คือ ทักษะภาษาอังกฤษด้านการพูด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). รมว.ศธ.บรรยายนโยบายสำคัญของศธ. ในการอบรมสัมมนาผู้บริหาร รร.ไทยรัฐวิทยาทั่วประเทศ. สืบค้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2559, จากhttp://www.thaigov.go.th/index.php/th/news-ministry/2012-08-15-09-39-20/item/105024.

จิราวรรณ เกิดผล. (2554). การพัฒนากระบวนการคิดของผู้เรียนด้วยกิจกรรมคิดยามเช้า (Morning Thinking Activity). สืบค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2559, จาก http://swis.acp.ac.th/pdf/research/jirawan_54.pdf

ณรงค์ วรรณจักร. (2550). การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry). สืบค้นเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2559, จาก http://kmsc1.multiply.com/journal/item/67.

ทิศนา แขมมณี. (2555). บัณฑิตศึกษาในศตวรรษที่ 21: การปรับหลักสูตรและการสอน. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการของราชบัณฑิตยสถานร่วมกับมหาวิทยาลัยวไลยอลงกรณ์.

ธีรนุช อนุฤทธิ์. (2559). การใช้กลุ่มวรรณกรรมเพื่อเพิ่มพูนทักษะการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนภาษาอังกฤษชาวไทย. วารสารภาษาปริทัศน์. 31: 81-106.

เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช และคณะ. (2559). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21: ความท้าทายในการพัฒนานักศึกษา 21st Century Skills: A Challenge for Student Development. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้: 208-222.

รวีวรรณ ชินะตระกูล. (2542). การทําวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : ที.พี. พรินท.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรีสฤษวงศ์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการมีงานทำตามแนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21การพัฒนานักศึกษาในศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2559, จากhttp://www.kksec.go.th/download/meework001.pdf

สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). บทความบริหารกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2555). กรุงเทพ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรีรัตน์ ไชยสุริยา. (2543). ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ในโรงเรียนสังกัดคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (มัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรพงษ์ ยิ้มละมัย. (2539). การสอนการอ่านเพื่อเพิ่มความสามารถในการคิดเชิงวิจารณ์ตามการวิจารณ์แนวสุนทรียศาสตร์. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (การสอนภาษาไทย). เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Anderson, L. W. & Krathwohl, D. R. (2001). A taxonomy for learning, teaching and assessing: A revision of Bloom's taxonomy of educational objectives. New York: Longman.

Bellanca, J. & Brandt, R. (Eds). (2010). 21st Century Skills: Rethinking how students learn. Bloomington: Solution Tree Press.

Bloom, B. S.; Engelhart, M. D.; Furst, E. J.; Hill, W. H.; & Krathwohl, D. R. (1956). Taxonomy of Educational Goals: Handbook 1: Cognitive Domain. New York: David McKay.

Carrison, C. & Slavit, G. (2005). From silence to a whisper to active participation: Using literature circles with EFL students. Reading Horizon. 46(2): 93-113.

Chi-An Tung & Shu-Ying Chang. (2009, December). Developing Critical Thinking through Literature. Feng Chia Journal of Humanities and Social Sciences. No. 19: 287-317.

Fisher, R. (2003). Teaching Thinking. (2nd.). London: Continuum.

Giuria, L. (2015). Teaching literature in the ESL classroom: A qualitative study on teachers’ views of literature in an upper secondary school environment in southern Sweden. Retrieved November 19, 2016 from http://lup.lub.lu.se/luur/download?func=downloadFile&recordOId=8596984&fileOId=8596985.

Hwang, D. & Embi, M. A. (2007). Approaches Employed by Secondary School Teachers Teaching the Literature Component in English. Jurnal Pendidik dan Pendidikan. 22: 1-23.

Jaffar, S. (2004). Teaching critical thinking through literature. Journal of Research (Faculty of Languages & Islamic Studies). 5: 15-26.

Hismanoglu, M. (2005). Teaching English through literature. Journal of Language and Linguistic Studies. 1(1): 53-66.

Kaowiwattanakul, S. (2012). The Place and Role of Literature Courses in Undergraduate EFLCurriculum in Thai Universities: A Survey of University Lecturers’ Attitudes. Journal of Humanities, Naresuan University. 9(3): 33-50.

Min-hsun Liao. (2012). Cultivating Critical Thinking through Literature Circles in EFL Context. Spectrum: Studies in Language, Literature, Translation, and Interpretation. 5: 89-116.

Rahimi, S. (2014). The use of literature in EFL classes. Journal of Academic and Applied Studies. 4(6): 1-12.

Sell, J. A. (2005). “Why teach literature in the English language classroom?”. Encuentro Journal of Research and Innovation in the Language Classroom. 86-93.

Taylor, R. (2009). The Paradox of University EFL: A Liberal Arts Subject without Liberal Arts Content. English Studies. 4: 1-29

The Partnership for 21st Century Learning. (2015). Framework for 21st Century Learning. Retrieved November 22, 2016 from http://www.p21.org/storage/documents/docs/P21_Framework_Definitions_New_Logo_2015.pdf.

Tompkins, G. E. & McGee, L. M. (1993). Teaching Reading With Literature: Case studies to action plans. New York: Merrill.

Yimwilai, S. (2015). An integrated approach to teaching literature in an EFL classroom. English Language Teaching. 8(2): 14-21.