พระราชนิพนธ์เรื่อง อิเหนา: อิทธิพลที่มีต่อศิลปะด้านคีตศิลป์

Main Article Content

พิลาสิณี อินทร์พยุง
สุภาวดี เพชรเกตุ
ชญานิน บุญส่งศักดิ์
จักรภพ เอี่ยมดะนุช

บทคัดย่อ

บทความเรื่อง พระราชนิพนธ์เรื่อง อิเหนา: อิทธิพลที่มีต่อศิลปะด้านคีตศิลป์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทเพลงที่ได้รับอิทธิพลจากบทละครเรื่องอิเหนา พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรเมื่อปี พ.ศ.2459 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวให้เรื่องอิเหนาเป็นยอดของบทละครรำ ผลการศึกษาพบว่าสามารถแบ่งบทเพลงที่ได้รับอิทธิพลจากบทละครเรื่องอิเหนาเป็น 3 กลุ่ม คือ เพลงพระราชนิพนธ์ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราชนิพนธ์ พบจำนวน 1 เพลง เพลงไทยสากลที่ได้รับแรงบันดาลใจโดยเป็นการนำเนื้อร้องมาใส่ทำนองไทยเดิม พบจำนวน 4 เพลง และเพลงประกอบการแสดงละครเวทีบุษบา-อุณากรรณ และเพลงประกอบละครเรื่อง สุดหัวใจเจ้าชายเทวดา จำนวน 8 เพลง แสดงให้เห็นถึงความนิยมและความงดงามของบทละครเรื่องอิเหนา พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยที่ยังคงสืบทอดมาถึงปัจจุบัน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กาญจนา แก้วเทพ. (2554). “เพ่งพินิจและครุ่นคิดตามความบันเทิงในสื่อ,” สื่อบันเทิง: อำนาจแห่งความไร้สาระ. กรุงเทพฯ : ออล อเบ้าท์ พริ้นท์.

ขวัญใจ คงถาวร. (2548). การรำตรวจพลของตัวพระในการแสดงละครในเรื่องอิเหนา. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานาฏยศิลป์ไทย ภาควิชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

จักรสุรักษ์ จันทรวงศ์. (2549). การศึกษาการดัดแปลงเรื่องอิเหนาเป็นบทละครโทรทัศน์. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).

จตุพร รัตนวราหะ. (2519). เพลงหน้าพาทย์. กรุงเทพฯ: ประพันธ์สาส์น. จุฑารัตน์ จิตโสภา.(2554). วิเคราะห์แนวคิดของรัชกาลที่ 4 ที่สะท้อนผ่านงานจิตรกรรมเรื่องอิเหนาในวิหารหลวง วัดโสมนัสวิหาร. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร).

เฉลิมใจ บัวจันทร์.(2551). สัญลักษณ์ดอกบัวจากพุทธปรัชญา สู่งานออกแบบสถานส่งเสริมทางปัญญา. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบภายใน ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน มหาวิทยาลัยศิลปากร).

ชลธิดา เกษเพชร. สุนทรียภาพทางทัศนศิลป์ (2556, 5 กรกฎาคม). สืบค้นจาก http://www.baanjomyut.com/library_2/extension4/the_visual_aesthetics

ชวลิต สุนทรานนท์ และคณะ. (2547). เครื่องแต่งกายละครและการพัฒนา: การแต่งกายยืนเครื่องละครในของกรมศิลปากร. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

ชั้น ศิลปบรรเลง, คุณหญิง. (2521). ดนตรีไทยศึกษา. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา.(2546). ละครฟ้อนรำ: ประชุมเรื่องละครฟ้อนรำกับระบำรำเต้น: ตำราฟ้อนรำ ตำนานเรื่องละครอิเหนา ตำนานละครดึกดำบรรพ์. กรุงเทพฯ: มติชน.

ฐานิยา ปิ่นจินดา.(2550). ปัญญาสชาดกและวรรณคดีนิทานจากจิตรกรรมที่บานแผละหน้าต่างพระอุโบสถ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร. (การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร).

ธานีรัตน์ จัตุทะศรี. (2552). พระราชนิพนธ์อิเหนาในรัชกาลที่ 2: การสร้างนิทานปันหยีให้เป็นยอดแห่งวรรณกรรมบทละครใน. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

เนาวรัตน์ เทพศิริ.(2539). เครื่องแต่งตัวชุดพระและนางของละครรำ(พ.ศ.2525-2539). (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชานาฏยศิลป์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย).

บุญเกิด รัตนแสง. (2550). นานาความรู้ .กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.

ปักดิ้นหักทองขวาง(2556, 19 มิถุนายน). สืบค้นได้จาก http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=2686)

ปิยวดี มากพา. (2547). เชิดฉิ่ง: การรำชุดมาตรฐานตัวพระในละครใน. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานาฏยศิลป์ไทย ภาควิชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

เพลงแขกขาว(2556, 29 มิถุนายน). สืบค้นได้จาก http://www.gotoknow.org/posts/429830

เพลงเขมรพวง เถา(2556, 29 มิถุนายน). สืบค้นได้จาก http://web.yru.ac.th/~jaran/data/thai_culture/song_thai/kamenpung.htm

เพลงบุษบาเสี่ยงเทียน(2556, 29 มิถุนายน). สืบค้นได้จาก http://www.gotoknow.org/posts/361359

เพลงบุษบาเสี่ยงเทียน(2556, 29 มิถุนายน). สืบค้นได้จาก http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/7533-011865/

เพลงห่วงอาลัย(2556, 29 มิถุนายน). สืบค้นได้จาก http://www.gotoknow.org/posts/364236

มัทนี โมชดารา รัตนิน. (2537). บุษบา-อุณากรรณ: บทละครสมัยใหม่ประกอบนาฏศิลป์และดนตรี เรียบเรียงและประพันธ์ใหม่จากพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ เรื่อง "อิเหนา". กรุงเทพฯ: โครงการสีสันวรรณกรรมระดับอุดมศึกษา.

รติยา สุทธิธรรม.(2552). ลีลาท่ารำและบทบาทการแสดงตัวนางจินตะหราจากละครในเรื่องอิเหนา. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชานาฏยศิลป์ไทย ภาควิชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. (2553). วรรณศิลป์ในวรรณคดีที่ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสร. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม – ธันวาคม.

รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. (2554). อิเหนา: ร้อยแก้วฉบับถอดความสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์.

ฤดีรัตน์ กายราศ. (2554). สังคีตศิลป์ในสาส์นสมเด็จ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

วรรณพินี สุขสม. (2545). ลงสรงโทน: กระบวนท่ารำในการแสดงละครในเรื่องอิเหนา. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานาฏยศิลป์ไทย ภาควิชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

วรรณวิภา วงษ์เดือน. (2562). ตัวละครจากวรรณคดีไทยในบทเพลงไทยสากล. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร).

วิไลรัตน์ ยังรอด และ ธวัชชัย องค์วุฒิเวทย์. (2555). จิตรกรรมเล่าเรื่องวรรณคดีอมตะ. กรุงเทพฯ: มิวเซียมเพรส.

ศิรินทร์พร ศรีใส. (2545). จินตทัศน์ในกระบวนการสื่อสารการแสดงของคณะละครเวทีสมัยใหม่. (วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวาทวิทยา ภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์, บรรณาธิการ. (2546). ศิลป์ส่องทาง: รวมบทความวิชาการ. กรุงเทพฯ: คมบาง.

สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์. (2532). การละครไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

โสมรัศมี สินธุวณิก. (2547). การเปรียบเทียบเรื่องดาหลังและอิเหนากับเรื่องปันหยีมลายู. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร).

อรไท ผลดี. (2537). จิตรกรรมไทย เรื่องอิเหนา. อาร์คแอนด์ไอเดีย. ปีที่ 2, ฉบับที่ 15 เดือนพฤศจิกายน น.220-225

อิงปราง บุณยเกตุ. (2548). เกณฑ์ในการคัดเลือกเรื่องเพื่อผลิตเป็นละครโทรทัศน์. (วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

อิเหนารำพัน(2556, 29 มิถุนายน). สืบค้นได้จาก http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/7535-011867/

อิเหนารำพัน (2556, 29 มิถุนายน). สืบค้นได้จาก http://writer.dek-d.com/chanin34/story/viewlongc.php?id=558214&chapter=2