การศึกษาความแตกต่างเชิงความหมายของคำว่า “神(shén)” และ “仙(xiān)”
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายทางความหมายของคำว่า “神” และ “仙” โดยศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร พจนานุกรมจีน-ไทยฉบับใหม่ 《现代汉泰词典》 ฉบับปี พ.ศ. 2563 โดยเธียรชัย เอี่ยมวรเมธ มาวิเคราะห์ความหมายคำภายใต้ทฤษฎีของ 张道新 (2014) จากกระบวนการสร้างคำประสมบนพื้นฐานแนวคิดของ Jerome L. Packard (2000) ผลการวิจัยพบว่า 1) คำประสมที่มีคำว่า “神” เป็นคำขึ้นต้น จำนวน 95 คำ 101 ความหมาย และคำประสมที่มีคำว่า “仙” เป็นคำขึ้นต้น จำนวน 15 คำ 17 ความหมาย โดยคำว่า “神” มีความหมายไม่ใกล้ความหมายแรกเริ่ม รวม 56 คำ 60 ความหมาย ร้อยละ 59.4 และคำว่า “仙” มีความหมายใกล้เคียงความหมายแรกเริ่ม รวม 7 คำ 8 ความหมาย ร้อยละ 47.05 2) คำศัพท์และสำนวนที่มี “神” เป็นอักษรนำประกอบไปด้วย ความหมายพื้นฐาน 1 ความหมาย ความหมายขยายใกล้ (近引申义jìn yǐnshēn yì) 6 ความหมาย ความหมายขยายไกล (远引申义 yuǎn yǐnshēn yì) 6 ความหมาย และความหมายอุปลักษณ์ 4 วงมโนทัศน์ ส่วนคำศัพท์และสำนวนที่มี “仙” เป็นอักษรนำประกอบไปด้วย ความหมายพื้นฐาน 1 ความหมาย ความหมายขยายใกล้ 3 ความหมาย ความหมายขยายไกล 1 ความหมายและความหมายอุปลักษณ์ 1 วงมโนทัศน์
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมังรายสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารมังรายสาร ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมังรายสาร หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารมังรายสารก่อนเท่านั้น
References
เกรียงไกร กองเส็ง. (2561). “ผี” ในสำนวนจีน: โลกทัศน์ ของชาวจีนต่อมนุษย์และธรรมชาติ. วารสารมังรายสาร, 6(2), 1-15.
ขจิตา ศรีพุ่ม. (2565). มโนอุปลักษณ์และหน้าที่ของมโนอุปลักษณ์พระเจ้าในคัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาเดิม. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 10(2). 127-146.
โชติช่วง นาดอน. (2548). วัฒนธรรมจีน(7) ตัวอักษรจีน. https://mgronline.com/china/detail/9480000103484
ถาวร สิกขโกศล. (2561). เทพและสิ่งศักดิ์และภูตผีของจีน. ศิลปวัฒนธรรม, 39(3). 134-141.
ทวีวัฒน์ ปุณทริกวิวัฒน์. (2545). ศาสนาและปรัชญาในจีน ทิเบต และญี่ปุ่น. สุขภาพใจ.
เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ. (2563). พจนานุกรมจีน-ไทยฉบับใหม่《现代汉泰词典》.(พิมพ์ครั้งที่ 38). รวมสาส์น.
นริศ วศินานนท์. (2564). การเปรียบเทียบระบบความหมายของคำในภาษาจีนและภาษาไทยจากคำกริยาพยางค์เดียวที่มีความหมายเกี่ยวกับการมองดู. วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน, 8(1). 27-40.
ปติสร เพ็ญสุต. (2563). พิธีบวชพระของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกด้วยวิธีแบบไทย ๆ , 31 สิงหาคม 2563. https://readthecloud.co/ordination-roman-catholic/?fbclid=IwAR3HSQZ9u7I1T1RRxg2gQ6nwAjiA0gwZIP2zxMtYC
พรรณทิพย์ เดชตระกูลวงศ์. (2566). ความสัมพันธ์ของอักษรจีนและคำภาษาจีน. วารสารศิลปศาสตร์ มทร.กรุงเทพ, 5(1). 14-49.
ศรุดา ทิพย์แสง. (2563). มาทำความรู้จักกับการปฏิวัติวิทยาศาสตร์, 25 ธันวาคม 2566. https://uatscimath.ipst.ac.th/2021/article-science/item/11479-2020-04-21-07-25-03
สันติ อ้ายเจริญ. (2560). กระบวนการสร้างคำประสมในภาษาไทย-จีนบนพื้นฐานแนวคิดของ Jerome L. Packard. วารสารบัณฑิตวิจัย, 8(2). 119-128.
อภิญญา ศิริวรรณ. (2559) กระบวนการสื่อสารและผสานความหมายผ่านอักษรเลียนธรรมชาติ. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(2). 293-324.
อภิวัฒน์ คุ้มภัย. (2549) การเปลี่ยนแปลงทางความหมายของคำในภาษาจีน. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 27(1). 7-26.
อาศรมสยาม-วิทยา. (2563). พัฒนาการตัวอักษรจีน. https://www.arsomsiam.com/evolution-of-chinese-characters/
邵敬敏. (2007). 现代汉语通论. 上海出版社.
金麦田. (2004). 中国古代神话故事全集. 京华出版社.
郭锐和其他人. (2022). 现代汉语(重印). 北京. 商务印书馆.
黄伯荣、廖序东. (2017) . 现代汉语. 北京. 高等教育出版社.
漢典. (n.d.). 神的意思. https://www.zdic.net/hans/%E7%A5%9E.
舒蕾和其他人.(2021). 古代汉语词义标注语料库的构建及应用研究.第二十届中国计算语言学大会论文集,第549页-第563页,呼和浩特,中国.
王力. (2012). 现古代汉语. 北京. 中国书局.
武当山道教协会. (2019). 道教神仙分类. http://wdsdjxh.com/detail.php?id=51
许慎. (1963). 说文解字. 北京. 中华书局.
闫德亮. (2021). 试论中国古代神话仙话化.第 10 期(总等 298 第). 中州学刊.139-144. 医道学术传承. (2021). 重要传说故事-仙鹅草的故事. https://mp.weixin.qq.com
张道新. (2014). 现代汉语词义范畴论. 北京. 中国社会科学出版社.
中国社会科学院语言研究所词典编辑室编. (2012). 现代汉语词典.(第6版). 商务印书馆.
Callies, M.“Idioms in the Making’and Variation in Conceptual Metaphor.”Cognitive Linguistic Studies 4.1 (2017): 63–81. doi:10.1075/cogls. Print.
Geeraerts, A.Theories of Lexical Semantics. New York: Oxford UP,2010. Print.
Landau, M.J., C. B. Zhong, and T. J. Swanson. “Conceptual Metaphors Shape ConsumerPsychology.” Consumer Psychology Review 1.1 (2017): 54–71. doi:10.1002/arcp.1002. Print.
Packard, J. L. (2000). The morphology of Chinese: A Linguistic and Cognitive Approach. New York: Cambridge University Press.