การดำเนินงานเพื่อประสิทธิภาพของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม Operations for Increasing of Performance Efficiency for Small and Medium Enterpris

Main Article Content

จุฑาสกณภ์ บุญนำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประกอบ ใจมั่น
ดร.กิตติกร สุนทรานุรักษ์

Abstract

          การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์เอกสารอย่างเป็นระบบ  มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ แนวปฏิบัติการดำเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ การศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ แนวปฏิบัติการดำเนินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพผลการวิจัยพบว่าบทบาทของผู้บริหารในการนำองค์กร  ประกอบด้วย 6 ประเด็น การวางแผนการดำเนินธุรกิจ  ประกอบด้วย  6 ประเด็น การมุ่งเน้นลูกค้าและการตลาด ประกอบด้วย 6 ประเด็น การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ ประกอบด้วย 4 ประเด็นการบริหารทรัพยากรบุคคล ประกอบด้วย 7 ประเด็น การจัดการกระบวนการ ประกอบด้วย 8 ประเด็น ผลลัพธ์ทางธุรกิจ ประกอบด้วย ด้านการมุ่งเน้นลูกค้าด้านการตลาดด้านการเงินด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านการจัดการกระบวนการ


          This study is a document analysis systematically. The purposes are to study, analyze and synthesize for building an operational guidelines in increasing the efficiency of small and medium Enterprises. The research was divided into 3 stages: studying, analyzing and synthesizing for making the appropriate implementation guidelines. The research was found that the role of management in the organization consists of 6 business planning issues, 6 issues of customer focus and marketing, 4 issues of measurement-analysis-and knowledge management, 7 issues of human resource management and 8 issues of processing management. Business results include customer focus, financial Marketing, human resource management and process management.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

เอกสารอ้างอิง

กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. (2557). TQM การบริหารเพื่อคุณภาพโดยรวม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
นพวรรณ ศรีสวัสดิ์. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร(TQM) กับการพัฒนา
นวัตกรรมในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต). สาขาวิชา
บริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นิติ รัตนปรีชาเวช. (2553). ผลการดำเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจากมุมมองแนวคิดองค์การ
แห่งการเรียนรู้และนวัตกรรมองค์การ. (ดุษฏีนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรดุษฏีบัณฑิต). คณะรัฐประศาสน
ศาสตร์. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.


ปัญญา เลิศไกร, ลัญจกร นิลกาญจน์. (2559, กรกฎาคม–ธันวาคม). การเก็บข้อมูลวิจัยชุมชนภาคสนาม.
วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 8(2). หน้า 1-12.
ลัญจกร นิลกาญจน์. (2557, กรกฎาคม-ธันวาคม). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 6(2).
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560–2564.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.). (2557). คู่มือเกณฑ์การตัดสินรางวัลสุดยอด SMEs
แห่งชาติ ครั้งที่ 7 (2557). [Online].Available:http://smesnationalawards .com/ [3 กุมภาพันธ์ 2557].
สำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ. (2556). เส้นทางสู่ความเป็นเลิศขององค์กร ปี 2556 (ฉบับภาษาไทย) .
Thailand Quality Award [Online]. Available:http:// www.tqa.or.th/.[1 มีนาคม 2556]
Kotler, P. (2003). Marketing Management. 11th ed. Singapore: Prentice-Hall.
McAfee, A. (2005). Will web services really transform collaboration?. MIT Sloan Management Review.
Reid Smith, E. (2001). Seven steps to building e-loyalty. Medical Marketing and Media.
Ribbink, D.; A.C.R. van Riel; Veronica Liljande and S. Streukens. (2004). Comfort your online
customer: quality, trust and loyalty on the internet. Managing Service Quality.
Sallis Edward. Total Quality Management in Education. 3rd ed. [Online].
Available:http://www.isixsigma.com/library/content/c020626a.asp#about. [2009,
May 10]
The Malcolm Baldrige National Quality Award. (2012). 2011-2012 Criteria for Performance
Excellence retrieved July 2016. From http://www.nist.gov/bldirge/publications/upload/
2011 Bussiness_Nonprofit_Criteria.pdf.