แนวทางการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช Ways of Providing Appropriate Welfare for Students of Nakhon Si ThammaratRajabhat University

Main Article Content

เมธิรา ไกรนที
เชษฐา มุหะหมัด
ส.ศิริชัย นาคอุดม

Abstract

บทคัดย่อ


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดสวัสดิการให้กับนักศึกษาของมหาวิทยาลัย และเพื่อค้นหาแนวทางการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสำหรับนักศึกษาใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณโดยมีกลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณ จำนวน 386 คน และเชิงคุณภาพ จำนวน 36 คน


          ผลการวิจัย พบว่าระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดสวัสดิการให้กับนักศึกษาของมหาวิทยาลัย จำแนกเป็นรายด้าน พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดสวัสดิการให้กับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเฉลี่ยทุกด้าน อยู่ในระดับมาก (=3.75) เมื่อพิจารณาระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดสวัสดิการให้กับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยจำแนกเป็นรายประเด็นพบว่าด้านการบริการทางการศึกษา นักศึกษามีความพึงพอใจเฉลี่ยทุกประเด็นอยู่ในระดับมาก (= 3.78) และนักศึกษามีความพึงพอใจโดยรวมต่อการจัดสวัสดิการให้กับนักศึกษา อยู่ในระดับมาก (=3.90) แนวทางการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสำหรับนักศึกษา ประกอบด้วย แนวทางในด้านการบริการทางการศึกษาด้านการบริการสุขภาพอนามัยด้านการบริการรักษาความปลอดภัยและด้านการนันทนาการ


Abstract


         The purposes of this research were to study the students’ satisfaction with the welfares service provided by Nakhon Si Thammarat Rajabhat University and to study ways of providing the appropriate welfares for the students of Nakhon Si Thammarat Rajabhat University. The research was mixed with qualitative and quantitative methods. For quantitative methods, the sample group consisted of 386 students and the another method, the sample group was 36 students.


The research finding was revealed that considering in each aspect, the research showed that the average level of all aspects of the satisfaction for student welfare was at the high level (= 3.75). Considering in each item, the average level of all items of the satisfaction for student welfares in educational service aspect was at the high level (= 3.78). Overall, the satisfaction of student welfare provided by Nakhon Si Thammarat Rajabhat University was at the high level (= 3.90).


For the ways of providing the appropriate welfares for the students,


the research suggested that there are four important aspects to develop the student welfare: the educational service, health service, security service, and recreation.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

เอกสารอ้างอิง

กฤตพร แซ่แง่ สายจันทร์ และกัลยกร ภิญโญ. (2558, มกราคม-มิถุนายน). การประเมินผลการดำเนินงาน
โครงการพัฒนาชุมชนเป็นพื้นที่แบบพึ่งตนเองและยั่งยืน ADP ลำทับ จังหวัดกระบี่. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 7(1).
ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ. (2548). สวัสดิการสังคม ฉบับชาวบ้าน. กรุงเทพมหานคร: เอดิสันเพรส.
----------. (2549). สวัสดิการสังคมในมิติกินดี อยู่ดี มีสุข มีสิทธิ.กรุงเทพมหานคร: เอดิสันเพรส โปรดักส์.
ปัญญา เลิศไกร, ลัญจกร นิลกาญจน์. (2559, กรกฎาคม–ธันวาคม). การเก็บข้อมูลวิจัยชุมชนภาคสนาม.
วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 8(2).
พินิจ เพชรสน. (2550). ความพึงพอใจต่อการจัดสวัสดิการของพนักงาน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดราชบุรี.
(วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
มัณฑนา จริยรัตน์ไพศาล และอรอนงค์ แจ่มผล. (2551). การศึกษาปัญหาและความต้องการการจัดสวัสดิการผู้
สูงอายุในจังหวัดกำแพงเพชร. กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
ลีนา ธรรมชุติพร. (2550). ความพึงพอใจและความต้องการของผู้ปกครองในการจัดสวัสดิการนักเรียน โรงเรียน
อนุบาลเยาวมิตร สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. (วิทยานิพนธ์ครุ
ศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
วันทนีย์ วาสิกะสิน, สุรางค์รัตน์ วศินารมณ์ และกิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2553). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
สวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมรภูมิ ขวัญคุ้ม. (2544). ความพึงพอใจของบุคลากรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่มีต่อการจัดสวัสดิการ
ภายในมหาวิทยาลัย. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการทั่วไป)). กรุงเทพมหานคร:
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อัญชไม จันทมาส. (2544). ความพึงพอใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหงที่มีต่อการจัดการบริการ
นักศึกษา. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)). กรุงเทพมหานคร: บัณฑิต
วิทยาลัย. มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
Herzberg, Frederick, Barnard Mausner and Barbara B. Snyderman. (1974). The Motivation
to Work. 2dcd, New York: John Wiley & sons. 1974.