การศึกษาการใช้หลักสูตรอาเซียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 The study of ASEAN Curriculum using in Schools under Surat Thani Primary Educational Service Area Office 3
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสภาพและปัญหา ข้อเสนอแนะการใช้หลักสูตรอาเซียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 กลุ่มตัวอย่างเป็นครูฝ่ายวิชาการ และครูผู้สอนในสถานศึกษาจำนวน 302 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานได้แก่ การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า สภาพการใช้หลักสูตรอาเซียนของสถานศึกษาโดยรวมและรายด้านมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก โดยการเตรียมความพร้อมในการใช้หลักสูตรมีค่าเฉลี่ยสูงสุดรองลงมาคือการประเมินผลการใช้หลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ผลการศึกษาปัญหาการใช้หลักสูตรอาเซียนของสถานศึกษาโดยรวมและรายด้านพบว่ามีสภาพปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง โดยปัญหาการเตรียมความพร้อมในการใช้หลักสูตรมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือปัญหาการประเมินผลการใช้หลักสูตร และปัญหาการนำหลักสูตรไปใช้มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ผลการเปรียบเทียบสภาพการใช้หลักสูตรอาเซียนในสถานศึกษาจำแนกตามประสบการณ์การทำงาน ประสบการณ์การเข้าอบรมการใช้หลักสูตร และขนาดของโรงเรียนที่สังกัดพบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการเปรียบเทียบปัญหาการใช้หลักสูตรอาเซียนของสถานศึกษาจำแนกตาม ประสบการณ์ในการทำงาน ประสบการณ์การเข้าอบรมการใช้หลักสูตร ขนาดของโรงเรียนที่สังกัดของครู พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Abstract
The purposes of this research were to study and to compare the state and problem and suggestion in using ASEAN curriculum in the schools under Surat Thani Primary Educational Service Area Office 3. The samples were 302 teachers in academic section and teachers in schools under Surat Thani Primary Educational Service Area Office 3 by simple random sampling. Data were collected by using questionnaire with reliability of 0.97. The statistics used in data analysis were mean, standard deviation. Statistics used in hypothesis testing were t-test and One-Way ANOVA.
The research results found that the state of ASEAN curriculum using in overall and individual aspects were at a high level, in descending order; the preparation in curriculum using, the evaluation of curriculum using and the curriculum using. The problem in ASEAN curriculum using in overall and individual aspect were at a middle level, in descending order; problem in preparation for curriculum using, problem in curriculum using evaluation and problem in curriculum using. The comparison of ASEAN curriculum using classified by teachers who are different in working experience, experience in curriculum using training, and school size where they work, showed difference at statistical level of .05. The comparison of problems in ASEAN curriculum using classified by teachers who are different in working experience, experience in curriculum using training and school size where they work showed difference at statistical level of .05. The suggestions in ASEAN curriculum using were: the committee for operation the curriculum using, the teachers should be training in curriculum using and the supervision and evaluation in ASEAN curriculum using.
Article Details
References
สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1. (วิทยานิพนธ์ครุ
ศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
กฤษฎิ์สราวลี ยองใยกฤษฎา. (2554). สภาพและปัญหาการบริหารจัดการหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรและโรงเรียนที่มีความพร้อม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยองเขต 2. (ภาคนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ก้องภพ กองโกย. (2556). การศึกษาความต้องการจำเป็นในการบริหารและจัดการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียนของ
สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41. (สารนิพนธ์การศึกษา).
จงจิตต์ เหลืองอรุณ. (2556). การเตรียมความพร้อมการบริหารหลักสูตรประถมศึกษาสู่ประชาคมอาเซียนของ
สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ชรินรัตน์ สีเสมอ. (2554). สภาพและปัญหาการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ชุติมา กิติยะวงษ์. (2556). สภาพการเตรียมความพร้อมด้านการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนของ
สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ดุษฎี บุตรบุรี. (2556). การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษารายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้อาเซียน ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอุเทนพัฒนา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22. (ภาคนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ปริฉัตร สุราช. (2553). สภาพปัจจุบันและปัญหาในการบริหารจัดการหลักสูตรระดับสถานศึกษา ในโรงเรียน
ต้นแบบการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดขอนแก่น. (รายงานการศึกษาอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ธัญญ์นภัส วิรัตน์เกษม. (2555). ปัญหาการใช้หลักสูตรสถานศึกษาตามทรรศนะของครูโรงเรียนนำ ร่องในสังกัด
เทศบาลเมืองชลบุรี อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี. (วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
พสุ สว่างสังวาล. (2555). การศึกษาสภาพและปัญหาการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ในโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 3. (ภาคนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.
พิสณุ ฟองศรี. (2552). การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัย. กรุงเทพมหานคร: ด่านสุทธาการพิมพ์.
พลอยชนก ทุนไธสง. (2557). การศึกษาการเตรียมความพร้อมและความต้องการการพัฒนาการเรียนรู้สู่
ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
ไพรบูรณ์ บุญอาจ. (2556). ความพร้อมของสถานศึกษาสู่การเป็นประชาคมอาเซียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39. (สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ภัคควลัณชญ์ สาระลัย. (2558). การบริหารและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่
ประชาคมอาเซียน โรงเรียนเทศบาลบูรพาพิทยาคาร สังกัดเทศบาลเมือมหาสารคาม. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
เมืองปาย รู้สรรพกิจ. (2555). ความพร้อมและแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนราช
วินิตบางแก้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ราตรี สีงาม. (2555). การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดศรีสะเกษ. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
วงศ์วัชระ ดวงศรี.(2556). การเตรียมความพร้อมครูเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ของโรงเรียนขยาย
โอกาส สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สำนักงาน. (2551). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร. (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
วัชริดา ทองคำพา. (2556). การพัฒนาการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหาร
การศึกษา. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ศุภงค์ ศรีศาลา. (2554). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 โรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรและโรงเรียนที่มีความพร้อม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 2. (ภาคนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.มหาวิทยาลัยบูรพา.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร:
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
. (2555). การพัฒนาสถานศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน.กรุงเทพมหานคร: สำนักวิชาการและ
มาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สฤษฎ์พล สุขกำเนิด. (2557). การเตรียมความพร้อมหลักสูตรอาเซียนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
สมัย ทองมาก. (2554). สภาพและปัญหาการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ของ
โรงเรียนต้นแบบและโรงเรียนที่มีความพร้อมในการใช้หลักสูตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1. (สารนิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. สถาบันราชภัฏชัยภูมิ.
สุนทร โคครบรรเทา. (2553). การพัฒนาหลักสูตรและการนำไปใช้. กรุงเทพมหานคร: ปัญญาชน.
สุรพงษ์ ศุทธางกูร. (2558). การศึกษาความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3. (ภาคนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
สุดารัตน์ ชัยทะนุ. (2556). ศึกษาการมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการภายใต้บริบทการก้าวสู่ประชาคม
อาเซียนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2. (สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สุภัทรพงษ์ โรยร่วง. (2558). การศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่
ประชาคมอาเซียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
เสาวลักษณ์ ประมาน .(2555). ปัญหาการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของ
ครูผู้สอนวิชาพลศึกษา ระดับประถมศึกษาโรงเรียนต้นแบบในเขตภาคกลาง. (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต).
สาขาวิชาพลศึกษา. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). แนวการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคม
อาเซียน ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.(2557). คู่มือหลักสูตรอาเซียน.
กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
. (2554). แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนระดับประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3. (2557). สารสนเทศทางการศึกษา 2557. กลุ่ม
นโยบายและแผน: สุราษฎร์ธานี.
. (2559). รายงานการประชุม ครั้งที่ 4/2559. กลุ่มนโยบายและแผน: สุราษฎร์ธานี.
David H, Monk. (2008). “Reflection and Commentary From the Field : Connecting the Reform
of Administrator Preparation to the Reform of Teacher Preparation”. Education
Administration Quarterly. 44(2), April: P.282-295
Lauridsen, D.A. (2003). What are Teacher’ Perceptions of the Curriculum Development Process
[Abstract]. Doctoral Dissertation, Ohio State University. Rotrieved 21 August 2013, from etd.ohiolink.edu/https://!etd.send_file?accession=osu1054575263&disposition=inline
Paul C., Chris D. (2002). The Impact of National Curriculum Assessment Arrangements On
English Teachers’ Thinking and Classroom Proctice in English Secondary Schools.
Teaching and Teacher Education, 9(6), P.559 -569.
Roth, J. (2008). The Impact of Standards – Based Mathematics Curriculum on Middle School
Students Actievement on the WESTEST [Abstract]. Master’s Thesis Marietta College. Retrieved 21 August 2013, from Retrieved 21 August 2013, from http://etd.ohiolink.edu/rws_etd/document/get/marietta1208806045/inline.
Sugimura, M. (2012). “Possibility of East Asian integration through the regional networks and
universities’ cooperation in higher education”. Asian Education and Development
Studies. 1(1), P.85-95.
UNESCO. (1978). Strategies and Procedures in Developing and Implementing Curriculum.
Bangkok: The UNESCO Regional Office for Education in Asia and Oceania.
Wang Wenfenge, Lam S.L. Agnes. (2003). The English Language Curriculum For Senior
Secondary School in China Its Evolution From 1949. The University of Hong Kong.