การประเมินสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร สาขาวิชาชีพครู The Evaluation of Competency in Learning Management of Graduate Diploma in Teacher Profession
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสมรรถนะนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร สาขาวิชาชีพครู ด้านการจัด การเรียนรู้ 6 เรื่อง คือ 1) ความสามารถในการจัดทำแผนการเรียนรู้ 2) ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ ที่เหมาะกับวัยของผู้เรียน 3) ความสามารถในการเลือกใช้พัฒนาและสร้างสื่ออุปกรณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน 4) ความสามารถในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน 5) ความสามารถในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง และ 6) ความสามารถในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูล ได้แก่ 1) นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู จำนวน 150 คน 2) อาจารย์นิเทศก์ จำนวน 16 คน 3) ครูพี่เลี้ยงนักศึกษา จำนวน 150 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินสมรรถนะ สำหรับนักศึกษาประเมินตนเอง ครูพี่เลี้ยงประเมินนักศึกษา และอาจารย์นิเทศก์ ที่รับผิดชอบการนิเทศนักศึกษา ซึ่งลักษณะแบบประเมินที่จัดทำขึ้นเป็นการสำรวจสมรรถนะ/รายการประเมิน โดยเป็นระดับคุณภาพ 4 ระดับ แบ่งเป็น 6 ด้าน ดังนี้ 1) ความสามารถในการจัดทำแผนการเรียนรู้ 2) ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะกับวัยของผู้เรียน 3) ความสามารถในการเลือกใช้ พัฒนาและสร้างสื่ออุปกรณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน 4) ความสามารถในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน 5) ความสามารถในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง 6) ความสามารถในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่าการประเมินสมรรถนะนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร สาขาวิชาชีพครู ด้านการจัดการเรียนรู้ โดยภาพรวมมีสมรรถนะอยู่ในระดับปานกลาง (= 3.43, S.D.=0.52) โดยแยกเป็นรายด้านดังนี้
- การประเมินสมรรถนะทักษะปฏิบัติด้านความสามารถ ในการจัดทำแผนการเรียนรู้นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง (= 3.37, S.D.=0.53)
- การประเมินสมรรถนะทักษะปฏิบัติด้านความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะกับวัยของผู้เรียนนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (= 3.42, S.D.=0.55)
- การประเมินสมรรถนะทักษะปฏิบัติด้านความสามารในการเลือกใช้ พัฒนาและสร้างสื่ออุปกรณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (= 3.41,D.=0.54)
- การประเมินสมรรถนะทักษะปฏิบัติด้านความสามารถในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (= 48, S.D.=0.53)
- การประเมินสมรรถนะทักษะปฏิบัติด้านความสามารถในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง (= 3.40, S.D.=0.49)
- การประเมินสมรรถนะทักษะปฏิบัติด้านความสามารในการวิจัยนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (= 49 S.D.=0.49)
คำสำคัญ : สมรรถนะ การจัดการเรียนรู้ ประกาศนียบัตรสาขาวิชาชีพครู
Abstract
This research aimed to evaluate the competency of Graduate Diploma in Teacher Profession students in 6 criteria of learning management comprised of 1) ability to write lesson plans, 2) ability to design learning content suited for students, 3) ability to develop and create learning materials to support students’ learning, 4) ability to manage activities to promote students’ learning, 5) ability to measure and assess students in actual conditions and 6) ability to conduct the research. The samples of the research were 1) 150 Graduate Diploma in Teacher Profession students, 2) 16 university supervisors, 3) 150 school advisors. The research instruments used to collect the data were an evaluation form on competency for Graduate Diploma students to evaluate themselves, school advisor and university supervisor to evaluate Graduate Diploma students. The evaluation form was divided into 4 level with 6 aspects, included 1) ability to write lesson plans, 2) ability to design learning content suited for students, 3) ability to develop and create learning materials to support students’ learning, 4) ability to manage activities to promote students’ learning, 5) ability to measure and assess students in actual conditions and 6) ability to conduct the research.
The statistic used to analyze the data were frequency, percentage, mean and Standard Deviation. The overall competency of Graduate Diploma students on teaching management was at moderate level displayed by mean (=3.43, S.D.= 0.52). It could be explained as follows;
- The overall ability to write lesson plans of Graduate Diploma students was at moderate level displayed by mean (=3.37, S.D. = 0.53).
- The overall ability to design learning content suited for students was at moderate level displayed by mean (=3.42, S.D. = 55).
- The overall ability to develop and create learning materials to support students’ learning was at moderate level displayed by mean (=3.41, S.D. = 0.54).
- The overall ability to manage activities to promote students’ learning was at moderate level displayed by mean (=3.48, S.D. = 0.53).
- The overall ability to measure and assess students in actual conditions was at moderate level displayed by mean (=3.40, S.D. = 0.49).
- The overall ability to conduct the research was at moderate level displayed by mean (=3.49, S.D. = 0.49).
Article Details
References
Dejakup, P. (2001). Learning-centered teaching and learning: Concepts, methods and techniques of teaching 1, 2. Bangkok: The Master Group Management. (in Thai)
Detkup, Y. (1997). Activities for preschool children. Bangkok: Odean Store. (in Thai)
________. (2008). Activities for preschool children. Bangkok: Mac Publisher. (in Thai)
Gestwicki, C. (1999). Developmentally appropriate practice, curriculum, and development in early education. New York : Clifton Park.
Hendrick, J. (1994). Total learning : Developmental Curriculum for the young child. 4thed. New York : Macmillan College Publishing co.th.
Kanchanawati, S. (2004). Theory of assessment. 4th ed, Bangkok: The Publisher of Chulalongkorn University. (in Thai)
Khamani, T. (1993). Principles and forms of early childhood development in accordance with Thai ways. 2nd edition, Bangkok: Chulalongkorn University. (in Thai)
Kumari Pookhuth, O. (1981). Teaching documents of childhood behavior series book 2. Bangkok: Sukhothai Thammathirat Open University. (in Thai)
Mc. Clelland, D.C. (1973). Testing for competence rather than for Intelligence. American Psychologist. 28, pp. 1-17.
National Education Commission. (2003). National Education Act 1999 amended (Version 2) 2004. Bangkok: Ministry of Education. (in Thai)
Office of the Prime Minister. (2002). National Education Act 1999 (No. 2). Bangkok: Office of the National Education Commission. (in Thai)
Panich, S. (1988). Preparation of young children Ratchaburi: Mueang Ratchaburi Community School. Bangkok: Kurusapa Publishing. (in Thai)
Parry, Scott B. (1997). Evaluating the Impact of Training. American: Alexandria, Virginia.
Pengsawat, V. (2002). Early childhood education research. Bangkok: Suree Wittayasan. (in Thai)
Phonyotin, P. (2000). Early childhood educational innovation. Bangkok: Sukhothai Thammathirat Open University. (in Thai)
Saengmali, B. (1982). Early childhood development. Bangkok: Methi Tips Company Limited. (in Thai)
Tantipolchewa, K. (2008). Learning activities management for preschool children. Bangkok: Brain-Best Books. (in Thai)
Wongwanich, S. (2003). Authentic Assessment. Bangkok: The Publisher of Chulalongkorn University. (in Thai)