โปรแกรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับสถาบันครอบครัวไทย

Main Article Content

ทิพย์วัลย์ สุรินยา

บทคัดย่อ

การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมฝึกอบรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับครอบครัว ที่ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ 7 กิจกรรมเป็นเวลา 7 วัน ได้แก่ กิจกรรมครอบครัวเข้มแข็ง กิจกรรมความสัมพันธ์ในครอบครัว กิจกรรมการสื่อสารในครอบครัว กิจกรรมความเครียดและการจัดการความเครียดในครอบครัว กิจกรรมสุขภาพจิตและการส่งเสริมสุขภาพจิตในครอบครัว กิจกรรมความขัดแย้งและการจัดการความขัดแย้งในครอบครัว และกิจกรรมบทบาทและหน้าที่ของครอบครัวในการสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว โดยมีผู้เข้าร่วมโปรแกรมเป็นคู่สามีภรรยาที่อาศัยในตำบลบึงคอไห อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี จำนวน 28 คนได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง เก็บข้อมูลจากเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความเข็มแข็งของครอบครัว โดยมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่า (α ) ของแบบสอบถามอยู่ระหว่าง .888 - .952 และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่า pair- t test ผลการวิจัยพบว่าภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ คู่สามีภรรยามีคะแนนความเข้มแข็งของครอบครัวโดยรวมเพิ่มมากขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่าภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ คู่สามีภรรยามีคะแนนความเข้มแข็งของครอบครัวด้านการยึดมั่น ด้านความท้าทาย ด้านการนับถือคุณค่าและความไว้วางใจ และด้านการจัดการกับความเครียดและภาวะวิกฤตเพิ่มมากขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ส่วนด้านด้านความมั่นใจ และด้านการควบคุมสิ่งเร้าภายนอกก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ มีคะแนนไม่แตกต่างกัน จากผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมที่ผู้วิจัยสร้างขี้นมีประสิทธิผลที่ผู้เกี่ยวข้องสามารถนำไปใช้ในการส่งเสริมความเข้มแข็งครอบครัวได้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2559). นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสถาบันครอบครัว พ.ศ. 2560 – 2564. สืบค้นจาก htpp://www.dwf.go.th.

ทิพย์วัลย์ สุรินยา. (2549). ปัจจัยที่ส่งเสริมความเข้มแข็งของครอบครัวไทย. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยศาสตร์, 32 (2), 101-104.

ทิพย์วัลย์ สุรินยา. (2550). รูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวไทย. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 21, 26-37.

บังอร เทพเทียน, ปรินดา ตาสี, ปิยฉัตร ตระกูลวงษ์ และ สุภัทรา อินทร์ไพบูลย์. (2551). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับครอบครัวเข้มแข็ง. วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา, 6 (2), 25-38.

พันธ์ศรี พลศรี, กิติรัตน์ สีหบัณฑ์ และ บุณยสฤษฎ์ อเนกสุข. (2559). แนวทางการสร้างความเข็มแข็งของครอบครัวในชุมชนแออัด จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร, 7 (1), 64 – 73.

ภูเบศร์ สมุทรจักร, ธีรนุช ก้อนแก้ว และ ริฎวัน อุเด็น. (2560). ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เดือนตุลา.

มาลี จิรวัฒนานนท์. (2551). แนวทางการส่งเสริมการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวพ่อหรือแม่คนเดียว. ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักส่งเสริมสุขภาพ. (2540). การศึกษาผลการวิจัยและแนวทางการสร้างเสริมครอบครัวที่พึงประสงค์ของไทย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

Arshat, Zarinah. (2013). Adolescents and parental perception of family strength: Relation to Malay adolescent emotional and behavioral adjustment. International Journal of Humanities and Social Science, 3 (18), 163-168.

Black, K. and Lobo, M. (2008). A conceptual review of family resilience factors. Journal of Family Nursing, 14(1), 33-55.

Brigman, K. L., Schons, J, and Stinnett, N. (1986). Strengths of families in a society under stress: A study of string families in Iraq. Family Perspective, 20: 61-73.

Dunst, Carl A.,Trivette, Carol, and Deal, Angela. (1988). Enabling and empowering families. Brookline. MA: Brookline Books.
Duke, M., Lazarus, A., and Fivush, R. 2008. Knowledge of family history as a clinically useful index of psychological well-being and prognosis: A brief report. Psychotherapy: Theory, Research, Practice, Training, 45, 268-272.

Garcia-Cadena, Cirilo H., Moral de la Rubia, Jose, Diaz-Diaz, Hector L., Martinez-Rodriguez, J., Sanchez-Reyes, Lorenzo, and Loprz-Rosales, Fuensanta. (2013). Effect of Family Strength over the Psychological Well-Being and Internal Locus of Control. Journal of Behavior, Health& Social Issues, 5, (2), 33 – 46.

Judge, S. (1998). Parental coping strategies and strengths in families of young children with disabilities. Family Relations, 47, 263-268.

Kumpfer, K.L. and Bayes, J. (1995). Child abuse and alcohol tobacco, and other drug abuse: Causality, coincidence, or controversy? In J.H. Jaffe (Ed.), The encyclopedia of drugs and alcohol. New York, N.Y: Macmillan.

Lazarus, R., & Folkman, S. (1984). Stress, appraisal and coping. New York: Springer.

Leary, C., Kelley, M., Morrow, J, and Mikulka, P. (2008). Parental use of physical punishment as related to family environment, psychological well-being, and personality in undergraduates. Journal of Family Violence, 23, 1-7.

Lochman, J. E., & van den Steenhoven, A. (2002). Family-based approaches to substance abuse prevention. The Journal of Primary Prevention, 23(1), 49–114.

McCubbin, H., Joy, C., Cauble, A., Comeau, J., Patterson, J., and Needles, R. (1980). Family stress and coping: A decade of review. Journal of Marriage and the Family, 42, 855-871.

McCubbin, Hamilton I. and Patterson, John. (1983). Family transitions: Adaptation to stress. In H. I. McCubbin and C. R. Figley (Eds.), Stress and the family. Vol . 1: Coping and normative transitions. New York, N.Y.: Brunner/Mazel.

McCubbin, H., & Patterson, J. (1983). The family stress process: The double ABCX model of family adjustment and adaptation. Marriage and Family Review, 6(1–2), 7–37.

McCubbin, H. I. and Thompson, A. I. (1991). Family assessment inventories for research and practice. (2nd ed.) Madison, WI: University of Wisconsin-Madison.

McCubbin, M. A., McCubbin, I. H., and Thompson, A. I. (1994). Family hardiness index. In J. Fischer & K. Corcoran (Eds), Measures for clinical practice: A sourcebook (2nd ed.) (vol.1, pp. 286-288). New York: Free Press.

Orthner, Dennis K., Jones-Sanpei, Hinckley, and Williamson, Sabrina. (2004). The resilience and strengths of low-income families. Family Relations, 53 (2), 159 - 167.

Pettit, J., Bates, J, & Dodge, K. (1997). Supportive parenting, ecological context, and children’s adjustment: A seven-year longitudinal study. Child Development, 68, 908 - 923.

Schlesinger, B. (1998). Strong families: A portrait. Transition, June, 4 - 15.

Schrodt, Paul. (2009). Family strength and satisfaction as function of family communication environments. Communication Quarterly, 57 (2), 171 - 186.

Shek, D. T. L. (2005). Economic stress, emotional quality of life, and Problem behavior in Chinese adolescents with and without economic disadvantage. Social Indicators Research, 71 (1-3), 363-383.

Segrin, Chris and Flora, Jeanne. (2005). Family communication. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates, Publishers.

Strong, Bryan, DeVault, Christine, Sayad, Barbara W., and Cohen, Theodore F. (2001). The marriage and family experience. Australia: Wadsworth.

Strong, Bryan, DeVault, Christine, and Cohen, Theodore. (2005). The marriage and family experience: Intimate relationships in a changing society 9th. Australia: Wadsworth, Thomson Learning, Inc.

Walsh, F. (1998). Strengthening family resilience. New York: The Guilford Press.

Whitchurch, G. and Constantine, L. (1993) Systems Theory. In: Boss, P., Doherty, W., LaRossa, R., Schumm, W. and Tenmetz, S. (Eds.), Sourcebook of Family Theories and Methods, Plenum, New York, 325-352.