มองรอบทิศกับชีวิตและสุขภาพของผู้หญิง: แนวทางในการส่งเสริมการเข้าถึงบริการสุขภาพ

Main Article Content

Patrapan Tamdee

บทคัดย่อ

สุขภาพของผู้หญิงนั้นมีความเกี่ยวข้องกับสถานภาพของผู้หญิงทั้งในฐานะที่เป็น “เพศหญิง” และเป็น “ผู้หญิง” ไปพร้อมกัน ก่อนจะพิจารณาเรื่องการเข้าถึงบริการสุขภาพของผู้หญิงจึงจำเป็นต้องทำความเข้าใจชีวิตและความต้องการของผู้หญิงแต่ละกลุ่มตามสถานะความเป็นหญิงในมิติต่างๆ ประกอบกัน ไม่ว่าจะเป็น ผู้หญิงในฐานะที่เป็น “หญิงสาว” ซึ่งเข้าไปเกี่ยวข้องกับ ความสวยความงาม ความเป็นโสด และเพศวิถี ของพวกเธอ ในขณะเดียวกัน  สุขภาพของผู้หญิงยังเกี่ยวข้องกับ “ความเป็นแม่” ของพวกเธอ ทั้งผู้หญิงที่ “เป็นแม่” “ต้องการเป็นแม่” และ “ไม่อยาก หรือ ยังไม่อยากเป็นแม่” นอกจากนั้น ผู้หญิงยังต้องทำหน้าที่เป็น “แรงงาน” ซึ่งสุขภาพมีความเชื่อมโยงกับงานของผู้หญิงเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งผู้หญิงหลายคนยังมีอัตลักษณ์ที่ซ้อนทับกันระหว่าง “ความเป็นแม่” และ “แรงงาน” และในท้ายที่สุด ผู้หญิงยังต้องแบกรับภาระในฐานะ “ผู้ดูแล” สมาชิกในครอบครัว เนื่องจากถูกนำมาเชื่อมโยงกับ “ความเป็นหญิง” ซึ่งเป็นภาระที่ไม่มีวันสิ้นสุด


          ทั้งนี้ ข้อสรุปดังกล่าว เป็นเพียงประสบการณ์ส่วนหนึ่งของผู้หญิงจากผลการวิจัยในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับสุขภาพผู้หญิงที่ผ่านมาของผู้เขียน และงานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องบางส่วนเท่านั้น หากต้องการศึกษาความต้องการด้านสุขภาพ และเงื่อนไขที่เชื่อมโยงกับการเข้าถึงบริการสุขภาพของผู้หญิงเหล่านี้ยังจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์ที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น เพื่อนำไปสู่การวางแผนและการสนับสนุนที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของผู้หญิงต่อไป เพราะถึงแม้จะเป็น “ผู้หญิงเหมือนกัน...แต่ต้องการการดูแลต่างกัน”

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จุลนี เทียนไทย. (2549). การเจริญเติบโตของวัยรุ่นไทยท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคม: กรณีศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างทางเพศในการมองภาพลักษณ์รูปร่างในอุดมคติ ความไม่พึงพอใจในรูปร่างและวิธีการให้ได้มาซึ่งภาพลักษณ์รูปร่างอุดมคติที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพของวัยรุ่นไทยอายุ 16-19, รายงานวิจัย กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ชุติมา โลมรัตนานนท์ และ ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์. (2556). อุดมคติและความเป็นจริงเรื่องความเป็นแม่ของผู้หญิงทำงาน. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 16(1), 1-15.
ณัฐยา บุญภักดี. (2550). ผู้หญิง ไข่ และความเป็นแม่, ใน ผู้หญิงกับเทคโนโลยีสร้างลูก. มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง, หน้า 11-16. กรุงเทพฯ: เอดิสัน เพรส โพรดักส์ จำกัด.
เดลินิวส์. (2559). แพทย์เผย “สาวโสด-ไม่มีลูก” เสี่ยงมะเร็งเต้านมสูง. สืบค้นจาก https://www.dailynews.co.th/politics/374424.
ไทยรัฐออนไลน์. (2560). ฝันสลาย! สาวโสดอยากมีลูก หมดสิทธิ์ขอบริจาคสเปิร์ม มัดมือชก บีบมีผัว. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/scoop/1140705.
โพสต์ทูเดย์. (2558). เสียงผู้หญิงอยู่ตรงไหน? กับการยุติการตั้งครรภ์อย่างปลอดภัย. สืบค้นจาก https://www.posttoday.com/life/healthy/396388
ภัทรพรรณ ทำดี. (2557). ผู้หญิงโสดในสังคมมหานคร: สุขภาพและชีวิตทางสังคม. ใน เอกสารรวมบทความการประชุมวิชาการด้านครอบครัวระดับชาติ ประจำปี 2557 “ครอบครัวอบอุ่น...พลังการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย” กรุงเทพฯ: กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
ภัทรพรรณ ทำดี. (2559). บนเส้นทางสายน้ำนมแม่: อัตลักษณ์ของแม่ทำงานยุคใหม่กับความยากลำบากในความเป็นแม่. วารสารวิจัยสังคม, 39(1), 1-37.
ภัทรพรรณ ทำดี และวัชรี บุญวิทยา. (2563). ผลกระทบของการสอดส่องผ่านเทคโนโลยีและสื่อสังคมที่มี ต่อครูและผู้ดูแลเด็กปฐมวัย. วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 50(1), 27 – 52.
ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์. (2561). บ้านสุดท้ายของชีวิต: มุมมองเชิงสังคมวิทยาต่อการบริบาลคุณภาพชีวิตระยะท้าย. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.).
วัจนา ลีละพัฒนะ และสายพิณ หัตถีรัตน์. (2561). เมื่อผู้ดูแลทำไม่ไหวแล้ว. ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. สืบค้นจาก
https://med.mahidol.ac.th/fammed/th/postgrad/article_4
วารุณี ชลวิหารพันธ์. (2559). ความชุกของการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อควบคุมน้าหนักอย่างไม่เหมาะสมของวัยรุ่นหญิงในจังหวัดสระบุรีและปัจจัยที่มีผล. วารสารเภสัชกรรมไทย, 8(2), 442-455.
วิจิตร ว่องวารีทิพย์. (2549). ร่างกาย เสน่ห์ อัตลักษณ์ และความเท่าเทียมเรื่องสุขภาพในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ศิวรักษ์ กิจชนะไพบูลย์. (2555). พฤติกรรมการลดนํ้าหนักที่ไม่ถูกต้องของวัยรุ่นและเยาวชนไทย. พยาบาลสาร, 39(4), 179-190.
สุไลพร ชลวิไว. (2550). เพศไม่นิ่ง: ตัวตน เพศภาวะ เพศวิถี ในมิติสุขภาพ. นครปฐม: ภาคีความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านเพศภาวะ เพศวิถี และสุขภาพ.
ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2551). ผู้ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: มูลนิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.).
ศิราณี ศรีหาภาค, โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคณิศร เต็งรัง. (2556). ผลกระทบและภาระการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้วัฒนธรรมไทย. รายงานการวิจัย. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) และสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, (2561). ระบบประกันการดูแลระยะยาว: ระบบที่เหมาะสมกับประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
สุวนา พฤกษสุวรรณ. (2540). ความแปลกแยกในการประกอบวิชาชีพพยาบาล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
Chen, H.M., Hou, S.Y., Yeh, Y.C., Chang, C.Y., Yen, J.Y., Ko, C.H., Yen, C.F., & Chen, C.S. (2010). Frontal function, disability and caregiver burden in elderly patients with major depressive disorder. Journal of Medical Science, 26(10), 548–54.
Hirakawa, Y., Kuzuya, M., Enoki, H., Hasegawa, J., & Iguch, A. (2008). Caregiver burden among Japanese informal caregivers of cognitively impaired elderly in community settings. Archives of Gerontology and Geriatrics, 46(3), 367–74.
Mahdavi, B., Fallahi-Khoshknab, M., Mohammadi, F., Hosseini, M.A., & Haghi, M. (2017). Effects of spiritual group therapy on caregiver strain in home caregivers of the elderly with alzheimer's disease. Archives of Psychiatric Nursing, 31(3), 269–73.
Wasilewskia, M.B., Stinson, J.N., & Camerona, J.L. (2017). Webbased health interventions for family caregivers of elderly individuals: A Scoping Review. International Journal of Medical Informatics, 103, 109-138.
Winahyu, K.M., Hemchayat, M., & Charoensuk, S. (2015). Factors Affecting Quality of Life among Family Caregivers of Patients with Schizophrenia in Indonesia. Journal of Health Research, 29(Supplement1), 77-82.
Rezende, G., Gomes, C.A., Rugno, F.C., Eva, G., Lima, N.K.C., De Carlo, M.M.R.P. (2017). Burden on family caregivers of the elderly in oncologic palliative care. European Geriatric Medicine, 8(4), 337–41.
Rezende, T.C., Coimbra, A.M., Costallat, L.T., Coimbra, I.B. (2010). Factors of high impacts on the life of caregivers of disabled elderly. Archives of Gerontology and Geriatrics, 51(1), 76–80.
Tamdee, D., Tamdee, P., Greiner, C., Boonchiang, W., Okamoto, N., & Isowa, T. (2019). Conditions of caring for the elderly and family caregiver stress in Chiang Mai, Thailand. Journal of Health Research, 33(2), 138-150.
Tao, H., & McRoy, S. (2015). Caring for and keeping the elderly in their homes. Chinese Nursing Research, 2(2-3), 31–4.

Translated Thai References

Chulanee Thianthai. (2006). Growing Up in Transitional Society: A View on Gender Differences in Ideal Body Image, Body Dissatisfaction, and Unhealthy Measures in Achieving One’s Ideal Body Image among Bangkok Adolescent Age 16-19, Research Report, Bangkok: The Thailand Research Fund. [in Thai].
Chutima Lomrattananont and Pavika Srirattanaban. (2013). Ideal and Actual Motherhood Identity of Working Women. Journal of Social Sciences, 16(1), 1-15. [in Thai].
Daily News. (2016). “ ‘Single woman – Childless' High Risk for Breast Cancer” Said Doctor. Retrieved from https://www.dailynews.co.th/politic/374424. [in Thai].
Family Medicine, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. [Online]. Retrieved from: https://med.mahidol.ac.th/dammed/the/postgrad/article_4 [in Thai].
Nattaya Boonpakdee. (2007). Woman, Ovary and Motherhood, in “Woman and Assisted Reproductive Technology”. Women’s Health Advocacy Foundation, 11-16. Bangkok: Edison Press Products Co; Ltd. [in Thai].
Patrapan Tamdee. (2014). Single woman in Metropolitan Society: Health and Social Life. In Proceeding of National Conference on Family 2014 “Warm Hearted Family…The Power of Change in Thai Society”. Bangkok: Department of Woman’s Affairs and Family Development, Ministry of Social Development and Human Security. [in Thai].
Patrapan Tamdee. (2016). The Path of Breast Milk: Identity of Modern Working Mothers and Difficult in Motherhood. Journal of Social Research, 39(1), 1-37. [in Thai].
Patrapan Tamdee and Watcharee Boonwittaya. (2020). Impacts of Technological and Social Media Surveillance on Early Childhood Teachers and Caregivers. Journal of Social Science, 50(1),27-52. [in Thai].
Pavika Srirattanaban. (2018). The Sociology of Illness, Dying and Death. Nonthaburi. National Health Commission Office. [in Thai].
Post Today. (2015). Where’s Women Voices? With Safety Termination of Pregnancy. Retrieved from: https://www.posttoday.com/life/healthy/396388 [in Thai].
Sasipat Yodpet. (2008). Caregiver for the Elderly in Family. Research Report. Bangkok: Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute (TGRI). [in Thai].
Siranee Sihapak, Komatra Chuengsatiansup and Kanisorn Tengrang. (2013). Impact and Burden in Long-Term Care for the Elderly in Thailand. Research Report. Nonthaburi: Health System Research Institute (HSRI); Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute (TGRI) and Strategy and Planning Division, Ministry of Public Health. [in Thai].
Siwarak Kitchanapaiboon. (2012). Improper Weight Loss Behavior among Thai Adolescents and Young Adults. Nursing Journal, 39(4), 179-190. [in Thai].
Sulaiporn Chonwilai. (2007). Gender identity, Sexuality and Health issue in Thai society. Nakhon Pathom: The Southeast Asian Consortium on Gender, Sexuality and Health. [in Thai].
Suwana Pruksasuwan. (1997). Work Alienation in Professional Nurse. Master’s Thesis, Faculty of Graduate Studies, Mahidol University. [in Thai].
Thailand Development Research Institute. (2018). Long-Term Care Insurance (LTCI): The Suitability System for Thailand. Bangkok: Thailand Development Research Institute. [in Thai].
Thairath Online. (2017). Burst Girls Bubble! Single Woman No Right to Request for Sperm Donation, Put pressure on Marriage. Retrieved from https://www.thairath.co.th/scoop/1140705 [in Thai].
Warunee Chonwihanpan. (2016). Prevalence of Inappropriate Use of Health Products for Weight Control among Female Teenagers in Saraburi Province and Factor Affecting it. Thai Journal of Pharmacy Practice, 8(2), 442-455. [in Thai].
Wijit Wongwareethip. (2006). The body, attractiveness, identity and health equity in Thai society. Bangkok: The Thailand Research Fund. [in Thai].