คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนจิตวิทยาในศตวรรษที่ 21 The Desire Characteristics of Psychology Students in the 21st Century

Main Article Content

Thanarat Songsomboon
Vichit Imarom
Kanit Kheovichai

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนจิตวิทยาในศตวรรษที่ 21 ที่อ้างอิงจากทักษะสำหรับผู้เรียนจิตวิทยาในการเตรียมพร้อมเพื่อความสำเร็จในการทำงานในศตวรรษที่ 21 ของสมาคมนักจิตวิทยาอเมริกา เพื่อนำข้อมูลไปเป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบกิจกรรมนันทนาการและกีฬาเพื่อสุขภาพโดยใช้กระบวนการเกมิฟิเคชั่นในการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนิสิตจิตวิทยาในศตวรรษที่ 21 โดยศึกษาจากสำรวจความคิดเห็นจากนิสิตจิตวิทยาและคณาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาบุคลิกภาพของนิสิตจิตวิทยาที่จัดโดยภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้แบบสำรวจเกี่ยวกับคุณลักษณะนิสิตจิตวิทยาที่พึงประสงค์ จำนวน 195 คน พร้อมทั้งศึกษาเปรียบเทียบกับข้อมูลเก่าย้อนหลัง 1 ปี และสัมภาษณ์ผู้บริหาร คณบดี หัวหน้าภาควิชา และคณาจารย์ผู้สอนในสาขาวิชาจิตวิทยาจำนวน 5 คน ผลการศึกษาพบว่า คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนจิตวิทยาในศตวรรษที่ 21 ตามแนวทางของสมาคมนักจิตวิทยาอเมริกา (APA) ที่เหมาะสมต่อการนำไปจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยออกเป็น 2 ด้าน คือ คุณลักษณะด้านบุคลิกส่วนบุคคล ได้แก่ การปรับตัว มีจิตสำนึก การกำกับตนเอง และคุณลักษณะด้านทางสังคม ได้แก่ การแสวงหาความร่วมมือ ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว ความเป็นผู้นำ การบริหารจัดการ และการมีจิตใจบริการ

Article Details

How to Cite
Songsomboon, T., Imarom, V., & Kheovichai, K. (2024). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนจิตวิทยาในศตวรรษที่ 21: The Desire Characteristics of Psychology Students in the 21st Century. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 50(2). สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/socku/article/view/271112
บท
บทความวิจัย

References

กรมสุขภาพจิต. (2565). รายงานผู้ป่วยมารับบริการด้านจิตเวชระบบระบบศูนย์กลางการให้บริการ. https://dmh.go.th/report/datacenter/dmh/

กระทรวงสาธารณสุข. (2564). รายงานข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข. https://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/Report%20Health%20Resource%202021.pdf

กระทรวงสาธารณสุข. (2566). อัตราป่วยรายใหม่ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า. https://hdcservice.moph.go.th/ hdc/reports/report.php?source=pformated/formatg.php&cat_id=22710ed5db1ed6b12aab540a7b0753b3&id=498d921b3210037891f4f2080df1b4f9

เก่งกาจ เกลี้ยงแก้ว. (2562). การพัฒนารูปแบบกิจกรรมนันทนาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ Veridian มหาวิทยาลัยศิลปากร (มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ), 12 (1). https://he02.tcithaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/151527

ฐิตินันทน์ ผิวนิล. (2565). แนวทางส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยม และหลักคุณธรรม สำหรับนักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสารประชากรศาสตร์, 38(1), 1-20.

ไทยรัฐ. (2563). สพฐ.ขอพนักงานราชการ 225 ตำแหน่งนักจิตวิทยา. https://www.thairath.co.th/news/ local/1816971.

ธเนตร ตัญญวงษ์. (2561). การพัฒนารูปแบบนันทนาการเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำสำหรับผู้นำนันทนาการ. ศรีนครินทร์วิโรฒน์.

ศูนย์ข้อมูลและข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง. (2565). สำรวจข้อมูลผู้ป่วยจิตเวชและบุคลากรสาธารณสุขด้านจิตเวชของไทย. https://www.tcijthai.com/news/2022/10/scoop/12594

American Psychological Association. (2013). APA guidelines for the undergraduate psychology major: Version2.0. http://www.apa.org/ed/precollege/undergrad/index.aspx.

Druskat, V.U., Mount, G., & Sala, F. (Eds.). (2005). Linking Emotional Intelligence and Performance at Work: Current Research Evidence with Individuals and Groups. Psychology Press. https://doi.org/10.4324/9780203763896

Immordino-Yang, M. H. (2011). Me, My “Self” and You: Neuropsychological Relations between Social Emotion, Self-Awareness, and Morality. Emotion Review, 3(3), 313-315. https://doi.org/10.1177/1754073911402391

Koç, Hakan. (2011). The impact of managers’ leadership behaviors on job satisfaction and performance of employees. African Journal of Business Management. 5.

Yen, Chia-Dai., Yeh, Ching-Hui., & Lin, Shin-Yi. (2016). Psychological empowerment and service orientation: A study of front-line employees in the food and beverage industry. Journal of Foodservice Business Research, 19(3), 298-314. DOI: 10.1080/15378020.2016.1178047