ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานของเทศบาลในจังหวัดแพร่

ผู้แต่ง

  • นันท์นภัส แลวงศ์นิล สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช
  • เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช

คำสำคัญ:

ผลสัมฤทธิ์, การบริหารงาน, เทศบาลในจังหวัดแพร่

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานของเทศบาลในจังหวัดแพร่
2) เปรียบเทียบระดับผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานของแต่ละเทศบาลในจังหวัดแพร่ 3) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานของเทศบาลในจังหวัดแพร่ และ 4) เสนอแนะแนวทางการบริหารงานของเทศบาลให้มีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้นต่อไป การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษาคือพนักงานเทศบาลในจังหวัดแพร่ จำนวน 25 แห่ง 661 คน ผู้บริหารท้องถิ่นในจังหวัดแพร่ 25 คน กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษา คือ พนักงานเทศบาล จำนวน 250 คน โดยใช้การคำนวนขนาดตัวอย่างของยามาเน่ และผู้บริหารท้องถิ่นจำนวน 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นอยู่ในช่วงระหว่าง 0.923 -0.972 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหูคุณแบบขั้นตอน

ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการบริหารของเทศบาลในจังหวัดแพร่ อยู่ในระดับไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานของแต่ละเทศบาลในจังหวัดแพร่มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) ปัจจัยด้านการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ปัจจัยด้านการบริหารเชิงยุทธศาสตร์และปัจจัยด้านการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานของเทศบาลในจังหวัดแพร่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ข้อเสนอแนะที่เป็นแนวทางการบริหารงานของเทศบาลให้มีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น คือควรนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมาใช้ในการบริหารงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ควรมีการมอบอำนาจและกระจายความรับผิดชอบในการตัดสินใจตามอำนาจหน้าที่และความเหมาะสม ควรเน้นการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ด้วยการ
ปลูกจิตสำนึกให้พนักงานรักองค์การ และควรกำหนดตัวชี้วัดการใช้ทรัพยากรมาประเมินผลการปฏิบัติราชการรายบุคคล และควรให้ความสำคัญในการประเมินสภาพแวดล้อมให้ชัดเจน

References

Boonyarataphan, T. (2006). Public Administration and Civil service reform. Information Concepts, Theories and Principles of Public Administration (unit 11). Sukhothai Thammathirat Open University. [In Thai]

Bunkerd, P. (2015). The Relationship Between the Paradigm Shift, Culture and Working Values of Government Officials Based on I AM READY Model and Operational Effectiveness in the Office of Public Works and Town & Country Planning, Southern Region, Ministry of Interior. (Thesis of Master of Public Administration, unpublished). Sukhothai Thammathirat Open University, Nonthaburi. [In Thai]

Burikul, T. (2006). Good Governance.Public Administration (Unit 10). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. [In Thai]

Ketsuwan, R. (2010). Introduction to Public Administration. Bangkok: Bophit Printing. [In Thai]

Meesamonai, C. (2011). Human Resource Management Based on Competency. Human Resource Management (Unit 14). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. [In Thai]

Meksawan, T. (1996). Result Based Management - RBM. Bureaucratic Reform Panel, Office of the Prime Minister. [In Thai]

Meksawan, T. (1997). Reform of the Public Sector to the State Desirable-: Who is Responsible for what. Civil Service Journal, 42(2), 24-43. [In Thai]

Office of the Civil Service Commission (OCSC). (2010). Guide for the core Competencies-Based Development of Civil Servants. Institute of Civil Service Development, August 2010.

Office of the Official Information Commission. (2014). The Municipality Act B.E. 2496 (1953) and Amendment (No. 13) B.E. 2552 (2009). Bangkok. Retrieved from http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER19/DRAWER016/GENERAL/DATA0000/00000240.PDF [In Thai]

Office of the Official Information Commission. (1997). Constitution of the Kingdom of Thailand 1997. Retrieved from http://www.oic.go.th/act/cons2540.pdf [In Thai]

Office of the Official Information Commission. (2017). Constitution of the Kingdom of Thailand 2017. Retrieved from http://www.oic.go.th/act/cons2560.pdf [In Thai]

Office of the Public Sector Development Commission (2012). Good Governance Principles. Bangkok: Cabinet and Royal Gazette Publishing Office. [In Thai]

Petchkong, C. (2008). Work Motivation of Government Officials at District Agricultural Office in Chumphon province. (Term paper of Master of Arts, unpublished). National Institute of Development Administration, Bangkok. [In Thai]

Plans and Process of Decentralization to Local Government Organization Act B.E. 2542 (1999). Royal Gazette, Volume 116, Section 114 Kor. Page 48, dated 17 November 1999. [In Thai]

Pornnasri, K. (2008). Factors Affecting the Operation Achievement of the Department of Agricultural Extension Officers in the Eastern Area. (Master’ thesis). Sukhothai Thammathirat Open University. [In Thai]

Sirisampan, T. (2006). Direction and trend of Public Administration. Information Concepts, Theories, and Principles of Public Administration (unit 15). Sukhothai Thammathirat Open University. [In Thai]

Sirimai, K. (2011). Interesting Knowledge About Competencies. Retrieved September 30, 2017, from http://competency.rmutp.ac.th.

Sukhothai Thammathirat Open University. Thirathiti, C. (2011). Strategic Management. Seminar in Public Administration (Unit 9). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. [In Thai]

Tabtub, S. (2011). Factors Influencing Achievement in the Practices of Government and Employees Phuket Provincial Administrative Organization. (Master’ thesis). [In Thai]

Wannawong, A. (2006). Public Administration Paradigm. Public Administration (Unit 11). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. [In Thai]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-31

How to Cite

แลวงศ์นิล น., & บุณยรัตพันธุ์ เ. (2020). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานของเทศบาลในจังหวัดแพร่. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 18(2), 69–86. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/stou-sms-pr/article/view/240779