อิทธิพลของการเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานผ่านความคิดสร้างสรรค์ของพนักงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ THE INFLUENCE OF EMPOWERMENT ON INNOVATIVE WORK BEHAVIOR THROUGH CREATIVITY OF EMPLOYEES IN AUTOMOTIVE INDUSTRY

ผู้แต่ง

  • ธนัตถ์ภัทร ถิรธนัชดิลก สาขาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ สาขาการจัดการนวัตกรรมทางธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตเพชรบุรี

คำสำคัญ:

การเสริมสร้างพลังอำนาจ, พฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงาน, ความคิดสร้างสรรค์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของบรรยากาศการเสริมสร้างพลังอำนาจและการเสริมสร้างพลังอำนาจเชิงจิตวิทยาที่มีต่อพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานผ่านความคิดสร้างสรรค์ ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยตัวแปรแฝง 4 ตัวแปร ได้แก่ บรรยากาศการเสริมสร้างพลังอำนาจ การเสริมสร้างพลังอำนาจเชิงจิตวิทยา ความคิดสร้างสรรค์ และพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงาน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ พนักงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ จำนวน 210 คน โดยการสุ่มแบบเจาะจงเครื่องมือในการวิจัยนี้ คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ ที่มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.58-0.70 ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า โมเดลสมมติฐานทางเลือกที่ 2 เป็นโมเดลที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า2 = 27.554, df = 19, P = 0.092, 2/df = 1.45, RMSEA = 0.046, RMR = 0.019, CFI = 0.995, GFI = 0.972 และ AGFI = 0.933 โดยโมเดลที่ 2 แสดงค่าอิทธิพลได้ดังนี้ พฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานได้รับอิทธิพลรวมจากความคิดสร้างสรรค์สูงสุด รองลงมาคือ การเสริมสร้างพลังอำนาจเชิงจิตวิทยาและบรรยากาศการเสริมสร้างพลังอำนาจเท่ากับ 0.942, 0.541 และ 0.446 ตามลำดับ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.001 โดยตัวแปรแฝงทั้ง 3 ตัวแปรร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานได้ร้อยละ 88.7 อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษานี้องค์กรสามารถนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรให้มีพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานเพื่อก้าวสู่องค์กรนวัตกรรมต่อไป

Downloads

References

Jong, J., & Hartog, D. (2008). Innovative Work Behavior: Measurement and Validation. EIM Business and Policy Research, 1-27.

สุขุมาล เกิดนอก. (2559). อิทธิพลปัจจัยพหุระดับของวิธีปฏิบัติด้านทรัพยากรมนุษย์ต่อพฤติกรรมเชิงนวัตกรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. (การจัดการ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

ประเวช ชุ่มเกษรกูลกิจ, และศจีมาจ ณ วิเชียร. (2561). พฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงาน: แนวคิด ปัจจัยเชิงสาเหตุ ความท้าทาย. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 10(1), 25-41.

West, M. A. (2002). Sparkling Fountains or Stagnant Ponds: An Integrative Model of Creativity and Innovation Implementation in Work Groups. Applied Psychology, 51(3), 355-387.

Amabile, T. M. (1988). A Model of Creativity and Innovation in Organizations. Research in Organizational Behavior, 10, 123-167.

Gumusluoglu, L., Ilsev, A. (2009). Transformational Leadership, Creativity, and Organizational Innovation. Journal of Business Research, 62(4), 461-473.

George, J. M. (2007). Creativity in Organizations. The Academy of Management Annals, 1(1), 439-477.

Sangar, R., & Rangnekar, S. (2014). Psychological Empowerment and Role Satisfaction as Determinants of Creativity. Asia-Pacific Journal of Management Research and Innovation, 10(2), 119-127.

Zhang, X., & Bartol, K. (2010). Linking Empowering Leadership and Employee Creativity: the Influence of Psychological Empowerment, Intrinsic Motivation, and Creative Process Engagement. Academy of Management Journal, 53(1), 107-128.

Sun, L. Y., Zhang, Z., Qi, J., & Chen, Z. X. (2012). Empowerment and Creativity: A Cross-level Investigation. Leadership Quarterly, 23(1), 55-65.

Liden, R. C., & Arad, S. (1996). A Power Perspective of Empowerment and Work Groups: Implications for Human Resources Management Research. Research in Personnel and Human Resources Management, 14(3), 205-251.

Al-Madadha, A., & Koufopoulos, D. N. (2014) Linking an Integrated Approach of Empowerment to Employee Creativity. European Scientific Journal, 2, 141-146.

วัลลภ วรรณโอสถ, และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2561). บรรยากาศการมอบอำนาจและการมอบอำนาจด้านจิตใจที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานเชิงนวัตกรรมผ่านความผูกพันต่อองค์การด้านจิตใจของนักบัญชีบริษัทเอกชน ในเขตกรุงเทพมหานคร. Veridian E-Journal Silpakorn University, 11(2), 1090-1104.

ญาณิศา เผื่อนเพาะ, และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2562). การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาของพนักงาน : บทบาทการเป็นตัวแปรแทรกของบรรยากาศการมอบอำนาจและการมอบอำนาจด้านจิตใจของพนักงานในนิคมอุตสาหกรรมบ้านหว้า (ไฮเทค) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. Veridian E-Journal Silpakorn University, 12(5), 283-303.

Ritter, B. A., Venkatraman, S., & Schlauch, C. (2014). A Multi-level Exploration of Empowerment Mediators. Leadership & Organization Development Journal, 35(7), 649-667.

Hosseiny, A.S., Godarzi, M.A., & Poorkhalil, M. (2015). The Role of Psychological Empowerment Factors in Enhancing the Creativity of Staff of Baqiatallah Medical Sciences University, Iran. Journal of Educational and Management Studies, 5(1), 10-14.

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. (2562). อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2562, จาก ttps://www.eeco.or.th/th/filedownload/1225/file-อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่

Hair, J. F., Jr., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis. 7ed. Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall.

ภัทรา นิคมานนท์. (2540). การประเมินผลการเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์การพิมพ์.

Nunnally, J. (1978). Psychometric Theory. New York: McGraw Hill.

มาเรียม นิลพันธุ์. (2551). วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Ergeneli, A., Arı, G. S., & Metin, S. (2007). Psychological empowerment and its relationship to trust in immediate managers. Journal of Business Research, 60(1), 41-49.

Nauman, S., Mansur Khan, A., & Ehsan, N. (2010). Patterns of Empowerment and Leadership Style in Project Environment. International Journal of Project Management, 28(7), 638-649.

Randolph, W. A. (1995). Navigating the Journey to Empowerment. Organizational Dynamics, 23(4), 19-32.

Scott, E.S., Silver, S.R., & Randolph, W.A., (2004). Taking Empowerment to the Next Level: A Multiple-level Model of Empowerment, Performance, and Satisfaction. Academy of Management Journal, 47(3), 332-349.

Spreitzer, G. M. (1995). Psychological Empowerment in the Workplace: Dimensions, Measurement, and Validation. Academy of Management Journal, 38(5), 1442-1465.

Conger, J. A., & Kanungo, R. N. (1988). The Empowerment Process: Integrating Theory and Practice. The Academy of Management Review, 13(3), 471-482.

Guilford, J. P. (1980). Cognitive Styles: What Are They? Educational and Psychological Measurement, 40(3), 715-735.

Sangar, R., & Rangnekar, S. (2014). Psychological Empowerment and Role Satisfaction as Determinants of Creativity. Asia-Pacific Journal of Management Research and Innovation, 10(2), 119-127.

Thomas, K. W., & Velthouse, B. A. (1990). Cognitive Elements of Empowerment: An "Interpretive" Model of Intrinsic Task Motivation. The Academy of Management Review, 15(4), 666-681.

Conger, J. A., & Kanungo, R. N. (1988). The Empowerment Process: Integrating Theory and Practice. The Academy of Management Review, 13(3), 471-482.

พิชญาพร พีรพันธุ์, และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2562). อิทธิพลของบรรยากาศการมอบอำนาจในการทำงานและการรับรู้ความมีอำนาจในการทำงานที่มีผลต่อผลการปฏิบัติงานเชิงนวัตกรรมของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. Veridian E-Journal Silpakorn University, 12(5), 778-797.

Techsauce Team. (2564). 20 บริษัทที่คนไทยอยากร่วมงานด้วยมากที่สุดในปี 2020. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://techsauce.co/tech-and-biz/20-top-company-of-2020

it24hrs. (2557). พาชมสำนักงาน Google ประเทศไทยกับวัฒนธรรมองค์กรที่มีเอกลักษณ์ของ Google. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://www.it24hrs.com/2014/google-thailand-office

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30

How to Cite

ถิรธนัชดิลก ธ. ., & เจษฎาลักษณ์ ว. . (2021). อิทธิพลของการเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานผ่านความคิดสร้างสรรค์ของพนักงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ THE INFLUENCE OF EMPOWERMENT ON INNOVATIVE WORK BEHAVIOR THROUGH CREATIVITY OF EMPLOYEES IN AUTOMOTIVE INDUSTRY . วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 13(26, July-December), 30–45. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/swurd/article/view/258845