อิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัตและนวัตกรรมการจัดการที่มีต่อความสามารถทางการแข่งขันของธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

Main Article Content

รุ่งทิพย์ มณเทียร

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาอิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัตและนวัตกรรมการจัดการที่มีต่อความสามารถทางการแข่งขันของธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทยและ2)เพื่อวิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถทางการแข่งขันของธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทยที่สร้างขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือในการวิจัย คือแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ด้วยวิธีคำนวณหา IOC และทดสอบความน่าเชื่อถือด้วยการหาค่าสหสัมพันธ์ด้วยวิธีของครอนบัช โดยเก็บข้อมูลจากผู้ประกอบการธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทยจำนวน 103 ราย และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโมเดลสมการโครงสร้าง (Structure Equation Model: SEM) ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถเชิงพลวัตมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความสามารถทางการแข่งขัน นอกจากนี้ความสามารถเชิงพลวัตมีอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกต่อความสามารถทางการแข่งขันโดยมีนวัตกรรมการจัดการเป็นตัวคั่นกลาง และพบว่าหลังจากใช้โปรแกรมสำเร็จรูปวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างปรากฏว่าดัชนีทุกตัวผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่าผลการวิเคราะห์ที่ได้ครั้งนี้สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประประจักษ์

Article Details

How to Cite
มณเทียร ร. (2017). อิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัตและนวัตกรรมการจัดการที่มีต่อความสามารถทางการแข่งขันของธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย. วารสาร สถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 8(2), 254–262. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/yri/article/view/178495
บท
บทความวิจัย

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ด้วย AMOS. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วน จำกัดสามลดา.

วลัยลักษณ์ รัตน์วงษ์. (2555). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของนวัตกรรมการบริการสำหรับธุรกิจนำเที่ยวภาคใต้ของไทย. ดุษฏีนิพนธ์ปริญญาเอก, สาขาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

Galunic, D. C., & Eisenhardt, K. M. (2001). “Architecturalinnovation and modular corporate forms”. Academy of Management Journal, 6,pp 1229–1249.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis: a global perspective (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall.

Li, D.Y., and Liu, J. (2014). Dynamic capabilities, environmental dynamism, and competitive advantage: evidence from China. Journal of Business Research, 67:2793-2799.

Protogerou, A., Caloghirou, Y., and Lioukas, S. (2005). Inside the black box’ of dynamic capabilities: defining and analyzing their linkages to functiuonal competences and firm performance. Industrial and Corporate Change,Copenhagen, Denmark ,27-29 June,31.

Rindova,V.P.,&Kotha,S.(2001).“Continuous "morphing": Competing through dynamiccap abilities, form, and function”. Academy of Management Journal, 44(6), pp1263-1280.

Sam The Rider.(2016). “Brief Situation of Thai Print Media 2016”. Nealson Company (Thailand). On-line. Available from Internet ,, accessed 27 December 2016.

Teece,D.J. & Pisano, G. & Shuen, A. (1997). Dynamic capabilities and strategic management. Strategic Management Journal, 18(7): 509.

Teece , D.J. (2007). Explicating Dynamic Capabilities : The Nature and Micro-foundations of (Sustainable) Enterprise Performance. Strategic Management Journal, 28 : 1319-1350.

Wong S.Y. & Chin K.S. (2007). Organizational Innovation Management : An Organization Wide Perspective. Industrial Management & Data Systems, 107(9), 1.