ความผูกพันในการใช้บริการธุรกรรมของธนาคารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Banking) ของผู้ใช้บริการที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล : มุมมองจากทฤษฎีการยอมรับเทคโนโลยี

Main Article Content

เยาวลักษณ์ ปานประดิษฐ์
ธนวัต ลิมป์พาณิชย์กุล

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงประจักษ์เรื่อง “ความผูกพันในการใช้บริการธุรกรรมของธนาคารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่(Mobile Banking) ของผู้ใช้บริการที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล : มุมมองจากทฤษฎีการยอมรับเทคโนโลยี” เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้คือผู้ใช้บริการMobile Banking ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 459 คน ใช้แบบสอบถามผ่านช่องทางออนไลน์เป็นเครื่องมือในการวิจัย โดยได้ทำการทดลองเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง (Pilot Test) เพื่อนำมาวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามด้วยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha) ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ (SPSS) ในการวิเคราะห์ค่าสถิติเพื่ออธิบายข้อมูลทั่วไปที่เกี่ยวลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ และข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และได้ทำการทดสอบสมมติฐานของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ด้วยการวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis) การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Linear Regression) และการวิเคราะห์อิทธิพลร่วมหรือปฏิสัมพันธ์ (Interaction Effect)จากผลการศึกษาพบว่า 1) การรับรู้ถึงประโยชน์ของการใช้งาน, การรับรู้ถึงความง่ายของการใช้งาน, การรับรู้ถึงความน่าเชื่อถือ, การรับรู้ถึงความเสี่ยง และการรับรู้ถึงความสามารถของตนเอง ส่งผลต่อ ความผูกพันในการใช้บริการ Mobile Banking อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2) การรับรู้ถึงผลประโยชน์ที่ได้รับ ส่งผลต่อความผูกพันในการใช้บริการ Mobile Banking อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3) การรับรู้ถึงประโยชน์ของการใช้งาน, การรับรู้ถึงความง่ายของการใช้งาน, การรับรู้ถึงความเสี่ยง, การรับรู้ถึงผลประโยชน์ที่ได้รับ และการรับรู้ถึงความสามารถของตนเอง ส่งผลต่อการแนะนำหรือบอกต่อการใช้งานMobile Banking อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4) การรับรู้ถึงความน่าเชื่อถือ ส่งผลต่อการแนะนำหรือบอกต่อการใช้งาน Mobile Banking อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 5) การรับรู้ถึงความง่ายของการใช้งานส่งผลเชิงบวกต่อการรับรู้ถึงประโยชน์ของการใช้งานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 6) การรับรู้ถึงความสามารถของตนเองมีอิทธิพลกำกับต่อความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ถึงความเสี่ยงและความผูกพันในการใช้บริการและการแนะนำ หรือบอกต่อการใช้งาน Mobile Banking อย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติ 7) การรับรู้ถึงความสามารถของตนเองมีอิทธิพลกำกับต่อความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ถึงประโยชน์ของการใช้งาน, การรับรู้ถึงความง่ายของการใช้งาน, การรับรู้ถึงความน่าเชื่อถือ, การรับรู้ถึงผลประโยชน์ที่ได้รับ ความผูกพันในการใช้บริการและการแนะนำหรือบอกต่อการใช้งาน Mobile Banking อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิตผลการศึกษาวิจัยที่ได้ ภาคธุรกิจอุตสาหกรรมการเงินการธนาคารสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการวางกลยุทธ์ทางการแข่งขันกับผู้ประกอบการรายอื่นหรือใช้ในการตัดสินใจเชิงธุรกิจให้สามารถตอบสนองความต้องการและสามารถสร้างความพึงพอใจของลูกค้าได้ตรงตามกลุ่มเป้าหมาย เพื่อที่จะสามารถรักษาฐานลูกค้าเดิมไว้และเป็นการเพิ่มฐานลูกค้าใหม่ โดยการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าได้

Article Details

How to Cite
ปานประดิษฐ์ เ., & ลิมป์พาณิชย์กุล ธ. . (2020). ความผูกพันในการใช้บริการธุรกรรมของธนาคารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Banking) ของผู้ใช้บริการที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล : มุมมองจากทฤษฎีการยอมรับเทคโนโลยี. วารสารเกษตรศาสตร์ธุรกิจประยุกต์, 14(20), 45–77. https://doi.org/10.14456/kab.2020.3
บท
Research article

References

1. กนกวรรณ ปัญญธนพัฒน์. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บัตรเครดิตธนาคารพาณิชย์ไทยในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล.(บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

2. จักรพงษ์ ลีลาธนาคีรี และธัญวรัตน์ สุวรรณะ. (2561).ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการทำธุรกรรม
ทางการเงินบนสมาร์ทโฟนในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 8(3), 100-111.
3.จิรนันท์ พุ่มภิญโญ. (2553). การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีโมบายแบงค์กิ้งของธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง. (วิทยาศาสตร-มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,กรุงเทพฯ.

4. ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2542). ระบบการชำระเงินในประเทศไทย : Payment Systems in Thailand. ฝ่ายระบบการชำระเงินธนาคารแห่งประเทศไทย.

5. ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2557). บริการทางการเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่: Mobile FinancialService. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/PaymentSystems/Publication/PS_Quarterly_Report/Payment%20Systems%20
Insight/PS_%20Insight_2014Q1.pdf

6. ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). ธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Mobile Banking และ Internet Banking. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/Statistics/Payment Systems/Pages/ StatPaymentTransactions.aspx

7. ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). ปริมาณการชำระเงินผ่านระบบการชำระเงินและช่องทางต่างๆ.สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/Statistics/Payment Systems/Pages/StatPaymentTransactions.aspx

8. ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). มูลค่าการชำระเงินผ่านระบบการชำระเงินและช่องทางต่างๆ. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/Statistics/Payment Systems/Pages/StatPaymentTransactions.aspx

9. ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2560). รายงานระบบการชำระเงิน 2560. สืบค้นจาก https://www.bot.
or.th/Thai/PaymentSystems/Publication/Pages/default.aspx

10. ธนาภา หิมารัตน์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีทางการเงิน บริบทธนาคารพาณิชย์.
(วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

11.ธัญยากร ขวัญใจสกุล. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการชำระเงินผ่านระบบ
โมบายแบงก์ก้งิ และระบบโมบายเพย์เม้นต์.(วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

12. นพวรรณ สุทธิ์ประเสริฐพร. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้บัตรเครดิตของกลุ่มผู้เริ่มต้น
ทำงานหรือนักศึกษาจบใหม่ (First Jobber)ในเขตกรุงเทพมหานคร. (บริหารธุรกิจ-มหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,กรุงเทพฯ.

13. พชรพันธุ์ สำเภาเงิน. (2552). การยอมรับเทคโนโลยีRFID ของลูกค้าธนาคารออมสิน. (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,กรุงเทพฯ.วารสารเกษตรศาสตร์ธุรกิจประยุกต์ปีที่ 14 ฉบับที่ 20 มกราคม - มิถุนายน 2563

14. พรพรรณ ช้างงาเนียม. (2553). ลักษณะบุคคล ความพึงพอใจและพฤติกรรมการใช้บริการทางการเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile Banking) ของลูกค้าธนาคารในกรุงเทพมหานคร. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,กรุงเทพฯ.

15. พุทธชาต อำพันสุข. (2556). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจและการนำไปใช้จริงของMobile Banking. (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

16. พูลพงศ์ สุขสว่าง. (2557). หลักการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 6(2), 136-145.

17. วนิดา หฤหรรษวาสิน. (2557). ปัจจัยการยอมรับบริการธนาคารอิเลคทรอนิกส์บนโทรศัพท์มือ
ถือ ด้วยรูปแบบบริการ K-Mobile Banking PLUS ของธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน).(วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

18. วริศรา มีมาก. (2552). การยอมรับเทคโนโลยีไบโอเมตริกสำหรับการดำเนินธุรกรรมในอุตสาหกรรม
ธนาคาร. (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

19. วสุธิดา นุริตมนต์ และ ทรงวิทย์ เจริญกิจธนลาภ.(2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีและความตั้งใจใช้บริการชำระเงินของผู้บริโภครุ่นใหม่ด้วยโปรแกรมประยุกต์คิวอาร์โค้ดผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟน.
วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6(2),40-50.

20. วสุธิดา นุริตมนต์. (2562). อิทธิพลของการยอมรับเทคโนโลยีที่มีต่อพฤติกรรมการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านแอป พลิเคชันบนโทรศัพท์เคลื่อนที่. วารสารสหวิทยาการวิจัย:ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8(1), 189-199.

21. วิศวะ การะเกตุ (2559). การยอมรับเทคโนโลยีทางการเงิน กรณีศึกษา การชำระเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ บริบท Startup FinancialTechnology. (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

22. ศิรินภา เสาวพันธ์พิสุทธิ์. (2555). ความสอดคล้องระหว่างงานและเทคโนโลยีกับความตั้งใจใช้บริการธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือ.(วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

23. ศิริลักษณ์ โรจนกิจอำนวย. (2562). การยอมรับการใช้ โมบายแบงก์กิ้งของธนาคารพาณิชย์ไทย
อย่างต่อเนื่อง. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพ-รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร, 8(2),10-21.

24. สามารถ แสนภิบาล. (2553). ปัจจัยการใช้ธนาคารบนมือถือผ่านเทคโนโลยีโครงข่ายสื่อสาร 3G
กรณีศึกษา ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน).(วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

25. สิชฌพัฒน์ เจียรนัยอาภรณ์. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บัตรเครดิตของ
ประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,กรุงเทพฯ.

26. แสงหล้า ชัยมงคล. (2554). การใช้ Factor Analysisด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.).

27. สุวมิตร บุญแก้ว. (2560). ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ผู้บริโภคเลือกใช้บริการ MOBILE BANKING ทดแทน
การทำธุรกรรมทางการเงินผ่านเครื่อง ATMในเขตกรุงเทพมหานคร. (เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

28. ศรินทร์ ขันติวัฒนะกุล และคณะ. (2562). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันสาเหตุความ
ภักดีของลูกค้าธนาคารของรัฐ. วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์,
5(1), 1-20.


29. อภิชาติ เทศสวัสดิ์วงศ์. (2553). ทัศนคติและพฤติกรรมการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินบนมือถือของ
ผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,กรุงเทพฯ.

30. อภินารี สุจินตะเดชา. (2558). อิทธิพลของการรับรู้ความง่าย การรับรู้ประโยชน์ ข้อมูลในการ
ใช้งาน และความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวกับการใช้บริการอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้ง.
(วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

31. สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2562). แนวโน้มคนไทยใช้สมาร์ทโฟนมากขึ้น. สืบค้นจาก http://
www.nso.go.th/sites/2014/Lists/Activity/Attachments/120/A24-05-60.pdf

32. Admission Premium. (2562). Mobile First และยุคสมัยที่คนไทยใช้ชีวิตผูกติดกับ Smartphone
และ Internet. สืบค้นจาก https://www.admissionpremium.com/business/news/3303

33. Kemp, S. (2018). Digital in 2018: World's internet users pass the 4 billionmark. Retrieved from https://wearesocial.com/blog/2018/01/global-digital-report-2018

34. Aboelmaged, M. G., & Gebba, T. R. (2013).Mobile banking adoption: an examination of technology acceptance model and theory of planned behavior. International Journal of Business Research and Development, 2(1), 35-50.

35. Aderonke A, A., & Charles K, A. (2010). An empirical investigation of the level of users’ acceptance of e-banking in Nigeria. Journal of Internet Banking and Commerce, 15(1), 1-13.

36. Ahmed, Z. (2014). Effect of brand trust and customer satisfaction on brand loyalty in Bahawalpur. Journal of Sociological Research, 5(1), 306-326.

37. Akturan, U., & Tezcan, N. (2012). Mobile banking adoption of the youth market perceptions and intentions. Journal of Marketing Intelligence & Planning, 30(4), 444-459. doi: 10.1108/02634501211231928

38. Alalwan, A. A., Dwivedi, Y. K., Rana, N. P., & Williams, M. D. (2016). Consumer adoption of mobile banking in Jordan examining the role of usefulness, ease of use, perceived risk and self-efficacy. Journal of Enterprise Information Management, 29(1), 118-139. doi: 10.1108/JEIM-04- 2015-0035
39. Aldas-Manzano, J., Lassala-Navarre´, C., Ruiz- Mafe´, C., & Sanz-Blas, S. (2008). The role of consumer innovativeness and perceived risk in online banking usage. International Journal of Bank Marketing, 27(1), 53-75.
doi: 10.1108/02652320910928245

40. Al-Jabri, I. M., & Sohail, M. S. (2012). Mobile banking adoption: application of diffusion of innovation theory. Journal of Electronic Commerce Research, 13(4), 379-391.

41. Amin, M. (2016). Internet banking service quality and its implication on e-customer satisfaction and e-customer loyalty. International Journal of Bank Marketing, 34(3), 280-306. doi: 10.1108/IJBM-10-2014-0139

42. Arif, I., Afshan, S., & Sharif, A. (2016). Resistance to mobile banking adoption in a developing country: evidence from Modified TAM. Journal of Finance & Economics Research, 1(1), 25-42. doi: 10.20547/jfer1601104

43. Barati, S., & Mohammadi, S. (2009). An efficient model to improve customer acceptance of mobile banking. Paper Presented at The World Congress on Engineering and Computer Science 2009, San Francisco,USA.

44. Brodie, R. J., Hollebeek, L. D., Juric, B., & Ilic´, A. (2011). Customer engagement: conceptual domain, fundamental propositions, and implications for research. Journal of Service Research, 14(3), 252-271.doi:
10.1177/1094670511411703

45. Casalo´, L. V., Flavia´n, C., & Guinalı´u, M. (2008). The role of satisfaction and website usability in developing customer loyalty and positive word-of-mouth in the e-banking services. The International Journal of Bank Marketing, 26(6), 399- 417. doi: 10.1108/02652320810902433

46. Chang, H. H., Wang, Y.-H., & Yang, W.-Y. (2009). The impact of e-service quality, customer satisfaction and loyalty on e-marketing: moderating effect of perceived value. Journal of Total Quality Management, 20(4), 423-443.
doi: 10.1080/14783360902781923

47. Chen, C. (2013). Perceived risk, usage frequency of mobile banking services. Managing
Service Quality: An International Journal, 23(5), 410-436. doi: 10.1108/MSQ-10-
2012-0137
48. Chitungo, S. K., & Munongo, S. (2013). Extending the technology acceptance model to mobile banking adoption inrural Zimbabwe. Journal of Business Administration and Education, 3(1), 51-79.

49. Choudhury, K. (2014). Service quality and word of mouth: a study of the banking sector. International Journal of Bank Marketing, 32(7), 612-627. doi: 10.1108/ IJBM-12-2012-0122

50. Crabbe, M., Standing, C., Standing, S., & Karjaluoto, H. (2009). An adoption model for mobile banking in Ghana. International Journal of Mobile Communications, 7(5), 515-543. doi: 10.1504/IJMC.2009.024391

51. Cudjoe, A. G., Anim, P. A., & Nyanyofio, J. G. N. T. (2015). Determinants of mobile banking adoption in the Ghanaian banking industry: a case of Access Bank Ghana Limited. Journal of Computer and Communications, 3(1), 1-19. doi: 10.4236/jcc.2015.32001

52. Davis, F. (1989). Perceived use fullness, Perceived ease of use and user acceptance of information technology. Management information System Quarterly, 13(3), 319-339.

53. Dehghan, A., & Shahin, A. (2011). Customer loyalty assessment a case study in MADDIRAN, the distributor of LG Electronics in Iran. Journal of Business Management and Strategy, 2(1), 1-23.

54. Deng, Z., Lu, Y., Deng, S., & Zhang, J. (2010).Exploring user adoption of mobile banking: an empirical study in China. International Journal of Information Technology and Management, 9(3), 289-301.

55. Dolat Abadi, H. R., Ranjbarian, B., & Zade, F. K. (2012). Investigate the customers' behavioral intention to use mobile banking based on TPB, TAM and Perceived Risk (a case study in Meli Bank). International Journal of Academic Research in Business and Social Sciences, 2(10), 312-322.

56. Govender, I., & Sihlali, W. (2014). A study of mobile banking adoption among university students using an Extended TAM. Mediterranean Journal of Social Sciences, 5(7), 451-459.



57. Gu, J. C., Lee, S. C., & Suh, Y. H. (2009). Determinants of behavioral intention to
mobile banking. Expert Systems with Applications: An International Journal, 39(9), 11605–11616. doi: 10.1016/j.
eswa.2009.03.024

58. Hanafizadeh, P., Behboudi, M., Koshksaray, A. A., & Tabar, M. J. S. (2014). Mobilebanking
adoption by Iranian bank clients. Journal of Telematics and Informatics, 31, 62-78. doi: 10.1016/j.tele.2012.11.001

59. Hernandez, J. M. C., & Mazzon, J. A. (2007). Adoption of internet banking: proposition and implementation of an integrated methodology approach. International Journal of Bank Marketing, 25(2), 72-88. doi: 10.1108/02652320710728410

60. Jeong, B. K., & Yoon, T. E. (2013). An empirical investigation on consumer acceptance of mobile banking services. Journal of Business and Management Research, 2(1), 31-40.

61. Kazi, A. K., & Mannan, M. A. (2013). Factors affecting adoption of mobile banking inPakistan: empirical evidence. International Journal of Research in Business and Social Science, 2(3), 54-61.

62. Kesharwani, A., & Bisht, S. S. (2012). The impact of trust and perceived risk on internet banking adoption in India an extension of technology acceptance model. International Journal of Bank Marketing, 30(4), 303-322.doi:
10.1108/02652321211236923

63. Koenig-Lewis, N., Palmer, A., & Moll, A. (2010). Predicting young consumers' take up of mobile banking services. International Journal of Bank Marketing, 28(5), 410-432. doi: 10.1108/02652321011064917

64.Lai, P. (2017). The literature review of technology adoption models and theories for the novelty technology. Journal of Information Systems and Technology Management, 14(1), 21-38. doi: 10.4301/
S1807-17752017000100002

65. Lee, I. (2009). Emergent Strategies for E-Business Processes, Services, and Implications: Advancing Corporate Frameworks. The United States of America: Information Science Reference.

66. Luarn, P., & Lin, H. H. (2005). Toward an understanding of the behavioral intention to use mobile banking. Journal of Computers in Human Behavior, 21(6), 873–891. doi: 10.1016/j.chb.2004.03.003

67. LULE, I., Omwansa, T. K., & Waema, T.M. (2012). Application of technology acceptance model (TAM) in M-Banking adoption in Kenya. International Journal of Computing and ICT Research, 6(1), 31-43.

68. Marangunic´, N., & Granic´, A. (2014). Technology acceptance model: a literature review from 1986 to 2013. Universal Access in the Information Society, 14, 81–95. doi: 10.1007/s10209-014-0348-1

69. Mehrad, D., & Mohammadi, S. (2016). Word of mouth impact on the adoption of mobile banking in Iran. Journal of Telematics and Informatics, 34(7), 1351-1363. doi: 10.1016/j.tele.2016.08.009

70. Mohd Daud, N., Mohd Kassim, N. E., Mohd Said, W. S. R. W., & Mohd Noor, M. M. (2011). Determining critical success factors of mobile banking adoption in Malaysia. Australian Journal of Basic and Applied Sciences, 5(9), 252-265.

71. Molinari, L. K., Abratt, R., & Dion, P. (2008). Satisfaction, quality and value and effects on repurchase and positive word-of-mouth behavioral intentions in a B2B services context. Journal of Services Marketing, 22(5),
363–373. doi: 10.1108/08876040810889139

72. Ndubisi, N. O. (2007). Relationship marketing and customer loyalty. Journal of Marketing Intelligence & Planning, 25(1), 98-106. doi: 10.1108/02634500710722425

73. Riquelme, H. E., & Rios, R. E. (2010). The moderating effect of gender in the adoption of mobile banking. International Journal of Bank Marketing, 28(5), 328- 341. doi: 10.1108/02652321011064872

74. Tang, Tzung-I, Lin, Hsin-Hui, Wang, Yi-Shun, & Wang, Yu-Ming, (2004). Toward an understanding of the behavioral intention to use mobile banking services. PACIS 2004 Proceedings, 131.

75. Thakur, R. (2013). What keeps mobilebanking customers loyal?. International
Journal of Bank Marketing, 32(7),628-646. doi: 10.1108/IJBM-07-2013-0062
76. Thakur, R., & Srivastava, M. (2013). Adoption readiness, personal innovativeness, perceived risk and usage intention across customer groups for mobile payment services in India. Journal of Internet Research, 24(3), 369-392. doi: 10.1108/IntR-12-2012-0244

77. Vivek, S. D., Beatty, S. E., & Morgan, R. M. (2012). Customer engagement: exploring customer relationships beyondpurchase. The Journal of Marketing Theory and Practice, 20(2), 127–145. doi: 10.2753/ MTP1069-6679200201

78. Yu, C. S. (2012). Factors affecting individuals to adopt mobile banking: empirical evidence from the UTAUT model. Journal of Electronic Commerce Research, 13(2), 104-121.