การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันองค์กรและอิทธิพลของความผูกพันองค์กรต่อประสิทธิผลการทำงาน กรณีศึกษารัฐวิสาหกิจในประเทศไทย

Main Article Content

เวทยา ใฝ่ใจดี
สุขยืน เทพทอง
วัชรพจน์ ทรัพย์สงวนบุญ

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมความผูกพันองค์กรมีอิทธิพลต่อความผูกพันองค์กร และ 2) วิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยความผูกพันองค์กรส่งผลต่อประสิทธิผลการทำงาน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเพื่อรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร รัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่งในประเทศไทย จำนวน 525 ตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเชิงอนุมาน ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis)


ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยที่ส่งเสริมความผูกพันองค์กรด้านภาพลักษณ์องค์กร ผู้บังคับบัญชา และความร่วมมือ ส่งผลต่อความผูกพันองค์กรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 และยังพบว่า ปัจจัยความผูกพันองค์กรทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการพูดถึงองค์กรในทางที่ดี (Say) 2) ด้านการคงอยู่เป็นพนักงาน (Stay) และ 3) ด้านการทำงานอย่างเต็มความสามารถ (Strive) มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Article Details

How to Cite
ใฝ่ใจดี เ., เทพทอง ส. ., & ทรัพย์สงวนบุญ ว. . (2023). การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันองค์กรและอิทธิพลของความผูกพันองค์กรต่อประสิทธิผลการทำงาน กรณีศึกษารัฐวิสาหกิจในประเทศไทย. วารสารเกษตรศาสตร์ธุรกิจประยุกต์, 17(27), 71–87. https://doi.org/10.14456/kab.2023.10
บท
Research article

References

กรกฏ แน่นหนา และ ปิยากร หวังมหาพร. (2564). ความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการส่วนกลาง กรมทรัพยากรน้ำบาดาล. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 10(1), 109-124.

ชฎาภรณ์ เพียยุระ, สามารถ อัยกร และ ชาติชัย อุดมกิจมงคล. (2565). คุณภาพชีวิตในการทำงานและวัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอพรรณนานิคม จังหวัดสกลนคร. วารสารสหวิทยาการวิจัยและวิชาการ, 2(5), 75-96. https://doi.org/10.14456/iarj.2022.85

ตระกูล จิตวัฒนากร. (2564). การสร้างความสุขในองค์กรที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานบริษัทในจังหวัดปทุมธานี. วารสารปัญญา, 28(3), 84-94.

ธนพร พงศ์บุญชู และ ธนวัต ลิมป์พาณิชย์กุล. (2560). อิทธิพลกำกับของภาวะผู้นำที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดในการทำงาน ภาวะหมดไฟในการทำงานและพฤติกรรมการทำงานที่เบี่ยงเบน. วารสารเกษตรศาสตร์ธุรกิจประยุกต์, 11(15), 14-32.

นรา หัตถสิน. (2557). วิวัฒนาการของแนวคิดการพัฒนาความสามารถทางการแข่งขัน: มุมมองกระบวนการภาวะทันสมัย. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 3(6), 68-91.

นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ์. (2558). ความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร: ความท้าทายของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีความหลากหลาย ของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 8(1), 16-31.

ปรินทร์ฉัตร พงศ์นาคศิริ. (2565). ปัจจัยแนวปฏิบัติการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อความผูกพันองค์กรของพนักงานองค์กร/ธุรกิจสตาร์ทอัพ ในเขตกรุงเทพมหานคร [สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหิดล. https://archive.cm.mahidol.ac.th/bitstream/123456789/4340/1/TP%20HOM.006%202565.pdf

มนตรี ศรีราชพัฒน์ และ ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์. (2561). รูปแบบอิทธิพลความผูกพันของพนักงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพทางการเงิน กลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ของประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 38(6), 49-69.

โมรยา วิเศษศรี, สโรชินี ศิริวัฒนา และ วรพล เพ็ชรภูผา. (2564). ความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร. วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 4(1), 52-65.

วรรณวนัช ดวงภมร. (2562). ความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรในบริษัท ยูนิค เอ็นจิเนียริ่งแอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) [สารนิพนธ์ปริญญาลราหรธุรกิจมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยรามคำแหง. https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/vlt14/6114991061.pdf

วีรภัทร สภากาญจน์ (2564). กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างความผูกพันต่อองค์กร. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 10(4), 350-358.

เวทิญาณ์ เจษฎาถาวงวงศ์ และ อมรินทร์ เทวตา. (2562). ความผูกพันต่อองค์การของเภสัชกรที่ทำงานในโรงพยาบาลรัฐเขตบริการสุขภาพที่ 1. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ Veridian มหาวิทยาลัยศิลปากร (มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ), 12(5), 941-954.

Allen, N. J., & Meyer, J. P. (1990). The measurement and antecedents of affective, continuance and normative commitment to the organization. Journal of occupational psychology, 63(1), 1-18. https://doi.org/10.1111/j.2044-8325.1990.tb00506.x

Anwar, G., & Abdullah, N. N. (2021). The impact of Human resource management practice on organizational performance. International journal of Engineering, Business and Management (IJEBM), 5(1), 35-47. https://doi.org/10.22161/ijebm.5.1.4

Bell, J. W. H. (2012). Research into the application of employee engagement [Master’s thesis]. University of Bedfordshire. https://uobrep.openrepository.com/bitstream/handle/10547/280229/bell.pdf?sequence=1

Bhuvanaiah, T., & Raya, R. P. (2014). Employee engagement: Key to organizational success. SCMS journal of Indian Management, 11(4), 61-71.

Boonsiritomachai, W., & Sud-On, P. (2021). The moderation effect of work engagement on entrepreneurial attitude and organizational commitment: evidence from Thailand’s entry-level employees during the COVID-19 pandemic. Asia-Pacific Journal of Business Administration, 14(1), 50-71. https://doi.org/10.1108/APJBA-03-2021-0101

Burt, J. E., Barber, G. M., & Rigby, D. L. (2009). Elementary statistics for geographers. Guilford Press. https://books.google.co.th/booksid=p7YMOPuu8ugC&printsec=frontcover&hl=th&source=gbs_ge_summary_r&cad=0#v=onepage&q&f=false

Chen, S. W., & Peng, J. C. (2021). Determinants of frontline employee engagement and their influence on service performance. The International Journal of Human Resource Management, 32(5), 1062-1085. https://doi.org/10.1080/09585192.2018.1505764

Fisher, R. A. (1936). Design of experiments. British Medical Journal, 1(3923), 554. https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2458144/

Hewitt, A. (2004). Employee engagement higher at double digit growth companies. Research Brief, 1-6.

Hewitt, A. (2015). 2015 Trends in global employee Engagement. https://www.aonhumancapital.com.au/getmedia/9228ab41-852b-4c50-abc6-4caa3529c86e/2015-Trends-in-global-employee-engagemengagement.pdf

Israel, G. D. (1992). Determining sample size. University of Florida Cooperative Extension Service.

Kline, R. B. (2011). Principles and practice of structural equation modeling (3rd ed.). The Guilford Press.

Likert, R. (1932). A technique for the measurement of attitudes. Archives of Psychology, 22(140), 5-55.

Macey, W. H., & Schneider, B. (2008). The meaning of employee engagement. Industrial and organizational Psychology, 1(1), 3-30. https://doi.org/10.1111/j.1754-9434.2007.0002.x

Sopapitchayakun, P., Sanamthong, E., Koohathongsumrit, N., & Butdam, C. (2021). The causal model of human resource development influencing job motivation, employee engagement, and organizational effectiveness of a private company in Thailand. Journal of Wisdom the Political Science and Multi-Disciplinary Sciences, 4(3), 99-120.

Walton, R. E. (1973). Quality of working life: what is it. Sloan management review, 15(1), 11-21.