ผลของการฝึกกลวิธีอภิปัญญาที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางคำศัพท์และความคงทนการเรียนรู้คำศัพท์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ผลของการฝึกกลวิธีอภิปัญญาที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางคำศัพท์และความคงทนการเรียนรู้คำศัพท์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
DOI:
https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2018.33คำสำคัญ:
การฝึกการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยกลวิธีอภิปัญญา, กลวิธีอภิปัญญา, กลวิธีการเรียนรู้คำศัพท์บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการฝึกกลวิธีอภิปัญญาที่มีผลต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางคำศัพท์และความคงทนการเรียนรู้คำศัพท์ของนักศึกษาที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษากลุ่มทดลองที่ได้รับการฝึกการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยกลวิธีอภิปัญญาเป็นเวลา 11 สัปดาห์ ผลการวิจัยพบว่าการฝึกการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยกลวิธีอภิปัญญามีผลต่อการเรียนรู้คำศัพท์ของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญ
จากการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบ One-way ANOVA ผลจากการวิจัยนี้พบว่า นักศึกษามีการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางคำศัพท์และความคงทนการเรียนรู้คำศัพท์ จากผลคะแนนสอบที่สูงขึ้น เรื่อง ส่วนประกอบของคำ และการวิเคราะห์คำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การฝึกการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยกลวิธีอภิปัญญาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ทางด้านคำศัพท์ให้กับนักศึกษา
ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยในอนาคต จากผลการวิจัยมีพบว่าการฝึกการฝึกกลวิธีอภิปัญญาอาจมีผลดีต่อการเรียนรู้คำศัพท์ของนักศึกษาซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางคำศัพท์และความคงทนการเรียนรู้คำศัพท์ ดังนั้นนักศึกษาควรได้รับการฝึกกลวิธีอภิปัญญาเพื่อใช้ในการเพิ่มความสามารถทางภาษาของตนเองโดยอัตโนมัติ และนักศึกษาควรได้รับการสนับสนุนให้ใช้กลวิธีอภิปัญญาที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นในบริบททางวิชาการ
References
Askari, M. I. (2014). The effect of meta-cognitive vocabulary strategy training on the breadth of vocabulary knowledge. Journal of Academic and Applied Studies, 4(5), 1-20.
Baumann, J. F., Edwards, E. C., Boland, E., Olejnik, S., & Kame’ ennui, E. J. (2003). Vocabulary tricks: Effects of instruction in morphology and context on fifth-grade students’ ability to derive and infer word meaning. American Educational Research Journal, 40, 447-494.
Gu, P. Y., & Johnson, R. K. (1996). Vocabulary learning strategies and language learning outcomes. Language Learning, 46(4), 643-679.
Hashemi, Z., & Hadavi, M. (2015). Investigation of vocabulary learning strategies among EFL Iranian medical sciences students. Procedia-Social and Behavioral Sciences, (192), 629-637.
Kaewngamsong, S. (2007). The improvement of vocabulary learning through the metacognitive strategy training. Master’s thesis. Khon Kaen University, Thailand.
Morin, R., & Goebel, Jr. J. (2001). Basic vocabulary instruction: teaching strategies or teaching words?. Foreign Language Annals, 34(1), 8-17.
Nation, I. S. P. (2001). Learning Vocabulary in Another Language. Cambridge: Cambridge University Press.
O’ Malley, J. M., & Chamot, A. U. (1990). Learning strategies in second language acquisition. Cambridge: Cambridge University Press.
Oxford, R. L. (1990). Language learning strategy: What bring teacher should know. Boston: Newbury House.
Renalli, J. M. (2003). The treatment of key vocabulary learning strategies in current ELT coursebooks: repetition, resource use, recording. Master’s thesis. Birmingham University, United Kingdom.
Schmitt, N. (1997). Vocabulary learning strategies. In N. Schmitt, M. McCarthy (eds) Vocabulary: Description, Acquisition and Pedagogy (pp.198-227). Cambridge: Cambridge University Press.
Schmitt, N. (2000). Vocabulary in language teaching. Cambridge: Cambridge University Press.
Wilawan, S. (2007). Lexical cohesion and metacognitive strategy training: an integrated approach to main idea comprehension. Language, 14(1), 18-42.
Zhao, N. (2009). Metacognitive strategy training and vocabulary learning of Chinese college students. English Language Teaching, CCSE Journal,2(4), 123-129.