ผลของการการใช้แฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ในภารพัฒนาความสามารถด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาพยาบาลศสาตรบัณทิต

ผู้แต่ง

  • ทรงสุดา หมื่นไธสง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี
  • ดารารัตน์ คำภูแสน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • จิราภรณ์ เหล่าอ้น มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • วัชรี อมรโรจน์วรวุฒิ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2021.24

คำสำคัญ:

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร, ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ, แฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์, การพูดสื่อสารภาษาอังกฤษ

บทคัดย่อ

          การวิจัยกึ่งทดลองมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาข้อจำกัดการสื่อสารด้านภาษาอังกฤษในนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาตรี ซึ่งเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศทั้งก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมแฟ้มสะสมงานแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษเพื่อศึกษาประเภทความคลาดเคลื่อนและพัฒนาทักษะการสื่อสารการพูดด้วยการใช้แฟ้มสะสมงานแบบอิเล็กทรอนิกส์ในการพัฒนาทักษะการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ รวมทั้งศึกษาความเห็นของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการใช้แฟ้มสะสมงานแบบอิเล็กทรอนิกส์ในการพัฒนาทักษะการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิตชั้นปีที่ 1 ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ในปีการศึกษา 2561 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวน 45 คน กลุ่มตัวอย่างได้รับบทเรียนที่ถูกออกแบบโดยใช้กรอบอ้างอิงสมรรถนะด้านภาษาแห่งสหภาพยุโรป (CEFR) และผลิตชิ้นงานด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษเป็นรายบุคคลโดยมุ่งเน้นที่การสื่อสารทางเดียวเป็นจำนวนทั้งหมด 4 ชิ้นงาน เพื่ออัปโหลดไปยังแฟ้มสะสมงานแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีผู้วิจัยเป็นผู้ที่ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่กลุ่มตัวอย่างเป็นรายบุคคล ชิ้นงานวีดีโอจะถูกนำมาวิเคราะห์ข้อผิดพลาดโดยใช้วิธีการโครงสร้างพื้นผิวของประโยค โดยข้อผิดพลาดจะถูกนำมาแยกประเภทตามลักษณะ ได้แก่ การละคำ การเพิ่มคำ การเลือกใช้รูปแบบผิด และการเรียงลำดับผิด ผลการวิจัยพบว่าความถี่ของข้อผิดพลาดบางประเภทในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษของนักศึกษามีน้อยลง

References

Barrett, H. (2005). White paper: Researching electronic portfolios and learner engagement. The REFLECT Initiative. Retrieved April 20, 2019, from https://bit.ly/2LGeWBG

Buzzetto-More, N. (2006). Using electronic portfolios to build information literacy. Global Digital Business Review, 1(1), 6-11.

Cepik, S., & Yatibas, A. E. (2013). The use of e-portfolio to improve English speaking skill of Turkish EFL learners. Anthropologist, 16(2), 307-317.

Cooper, T. & Love, T. (2001). Online portfolios: issues of assessment and pedagogy. AARE. Retrieved August 20, 2019, from https://bit.ly/3bLHuEr

Dulay, H., Burt, M., & Krashern, S. (1982). Language two. New York : Oxford University.

Foster, P., & Skehan, P. (1999). The influence of source of planning and focus of planning on task-based performance. Language Teaching Research, 3(3), 215-247.

Hiranburana, K. (2017). A Framework of Reference for English Language Education in Thailand (FRELE-TH ) ― based on the CEFR, The Thai experience. LEARN Journal: Language Education and Acquisition Research Network Journal, 10(2), 90-119.

Huang, H. T. D., & Hung, S. T. A. (2010). Effects of electronic portfolios on EFL oral performance. Asian EFL Journal, 12(2), 192-212.

Lao-un, J., & Khampusaen, D. (2018). Using Electronic Portfolio to Improve English Speaking Ability of Thai Undergraduate Students. Prodeedings of 14th International Conference on Humanitices and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018), (pp. 687-698). Faculty of Humanitices and Social Sciences, Khon Kaen University. (In Thai)

Lau, S. H. (2006). The implementation of portfolio assessment in an ESL/EFL Classroom. TESL Working Paper Series, 25-30.

Nunes, A. (2004). Portfolios in the EFL Classroom: Disclosing an Informed Practice. ELT Journal, 58(4), 327-335.

Pasiphol, S., & Sothaya, P. (2016). Development of Electronic Portfolio Model to Assess Learning Development of Elemenatary School Student. Kasetsart Journal of Social Science, 37, 291-305. (In Thai)

Paulson, F. L., Paulson, P. R., & Meyer, C. A. (1991). What Makes a Portfolio a Portfolio?. Educational Leadership, 48(5).

Pianpeng, T., & Koraneekid, P. (2014). Effect of Reflection Using Video Based on GIBBs’ Cycle in the Electonic Porfolio on The Level of Reflective Thinking of Teacher Students. OJED, 9(4), 150-163. (In Thai)

Safari, M., & Koosha, M. (2016). Instructional efficacy of portfolio for assessing Iranian EFL learners' speaking ability, 9(3), 102-116.

The EF English Proficiency Index. (2018). The world's largest ranking of countries and regions by English skills. Retrieved March 8, 2019, from https://www.ef.com/wwen/epi/

Wang, L. J., & Chang, H. F. (2010). Applying innovation method of assess English speaking performance on communication apprehension. Belt Journal, 1(2), 147-158.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-05-06

How to Cite

หมื่นไธสง ท., คำภูแสน ด. ., เหล่าอ้น จ., & อมรโรจน์วรวุฒิ ว. (2021). ผลของการการใช้แฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ในภารพัฒนาความสามารถด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาพยาบาลศสาตรบัณทิต. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 15(2), 41–55. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2021.24