กลไกการขับเคลื่อนเกษตรกรเข้าสู่การรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (PGS) จังหวัดเชียงราย

-

ผู้แต่ง

  • ทัศนีย์ ธรรมติน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • เลหล้า ตรีเอกานุกูล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • รณิดา ปิงเมือง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • วรรณะ รัตนพงษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2021.37

คำสำคัญ:

กลไกการขับเคลื่อนเกษตรกร, เกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม, การรับรอง

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ของการขับเคลื่อน ศึกษาปัจจัยส่งเสริมให้เกษตรกรรายย่อยที่ผลิตเกษตรอินทรีย์เข้าสู่การรับรอง ปัญหาการเข้าสู่การรับรอง และจัดทำกลยุทธ์กลไกการขับเคลื่อนเกษตกรเข้าสู่การรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม จังหวัดเชียงราย เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน เลือกกลุ่มประชากรแบบเจาะจง เริ่มด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์และปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกษตรกรเข้าสู่การรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม โดยเลือกการจัดหมวดหมู่ประเด็นสำคัญ ทำการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูล 35 คน ด้วยแบบสัมภาษณ์ ใช้สถิติพื้นฐานวิเคราะห์หาค่าจำนวน และการวิเคราะห์เนื้อหา และทำการสอบถามด้วยแบบสอบถามกับกลุ่มเป้าหมาย 102 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลีย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน นำข้อมูลที่ได้มาจัดทำกลยุทธ์ ด้วยการสนทนากลุ่มกับผู้ให้ข้อมูล 13 คน ร่วมกับเทคนิค TOWS Matrix และประเมินความเหมาะสมของกลยุทธ์โดยผู้เชี่ยวชาญ 15 คน วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

            ผลการวิจัยพบว่า จังหวัดเชียงรายได้เข้าร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการพัฒนาเกษตรอินทรีย์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 มีเกษตกรเห็นความสำคัญเข้าสู่กระบวนการการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม ตั้งแต่ปี 2555-ปัจจุบัน รวม 347 ราย โดยมีพื้นที่ปลูกผัก 279 ไร่ ปลูกผลไม้ 165 ไร่ ปลูกสมุนไพร 45 ราย และกาแฟอินทรีย์รักษาป่า 147 ครัวเรือน ในพื้นที่ 1,826.5 ไร่ ซึ่งภาพรวมของปัจจัยที่ส่งเสริมเกษตรกร และปัญหาการเข้าสู่การรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม อยู่ในระดับมาก และภาพรวมของกลยุทธ์ที่กำหนดขึ้น 7 กลยุทธ์ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{X} =4.10, S.D.=0.29) สามารถนำมาแสดงให้เห็นการขับเคลื่อนเกษตรกรเข้าสู่การรับรองการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม ใน 3 อันดับแรก คือ กลยุทธ์ที่ 1 กลยุทธ์ที่ 2 และกลยุทธ์ที่ 3

References

Borngern, D., Chaiphibun, S., Sathienphirakun, K., & Chunphan, W. (2019). Accessing Certified Organic Rice Production of Farmers in Chiang Mai Province. Thesis, Doctor of Philosophy in Applied Economics Program, Faculty of Economics, Maejo University, Chiang Mai. (In Thai)

Cronbach, L. J., & Furby, L (1970). How we should measure “change”. Or should we?. Psychological bulletin, 74(1), 68.

Doyran, S. H., Rundgren, G., & Lockeretz, W. (2002). Codex guidelines on the production, processing, lagelling and marketing of organically produced foods. Tholey-Theley (Germany) IFOAM.

GREEDISGOODS. (2017). TOWS MATRIX. Retrieved June 15, 2016, from https://greedisgoods.com/tag/tows-matrix/ (In Thai)

Greennet. (2016). Community certification system PGS. Retrieved May 15, 2016, from https:// www.greennet.or.th/ (In Thai)

Greennet. (2016). Thai organic market. Retrieved May 15, 2016, from https://www.greennet.or.th/ (In Thai)

Jiumpanyarach, W. (2017). Sustainable Impacts on Organic Farmers in Thailand: Lessons from Small-scale Farmers, Journalism, Social Science: Srinakharinwirot University. (In Thai)

Likert, R. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. In Reading in Fishbeic, M (Ed.). Attitude Theory and Measurement (pp. 90-95). New York : Wiley & Son.

NoiMor, T. (2020). Driving the Organic Agriculture Certification Group with PGS, Chiang Rai Province. Bangkok : Department of Land Development. (In Thai)

Office of Agricultural Economics. (2017). National Organic Farming Development Strategy (2017-2021). Bangkok : Office of Agricultural Economics. (In Thai)

Office of the National Economic and Social Development Council. (2018). National Strategy 2018-2037 (Summary). Bangkok : Office of the National Economic and Social Development Council. (In Thai)

Organic Agriculture Certification Thailand.(2015). General Guide to Organic Certification with OACT. Nonthaburi : Organic Agriculture Certification Thailand. (In Thai)

Srichuchat, S. (2007). Business statistics. Chiang Mai : Faculty of Science, Chiang Mai Rajabhat University. (In Thai)

Srigiofun, Y, Mekhkhyay, T., Phakdi, K., Suwan, K, Thasakovit, U., In-nongchang, S., & Loamlay, S. (2012). Promoting organic agriculture and integrated pest management of San-sai farmers, Chiang Mai province. Research Report. Maejo University, Chiang Mai. (In Thai)

Sukkarat, K., & Athinuwat, D. (2019). Study of Consumption Behavior and Attitude of Organic Product Consumers. Thesis, Master of Science (Organic Farming Management) Program in Department of Agricultural Technology, Thammasat University, Pathum Thani. (In Thai)

The Chaipattana Foundation. (2010). The Royal Initiative on Sufficiency Economy. Retrieved May 15, 2016, from https://www.chaipat.or.th/site_content/item/1309-2010-06-03-09-50-07.html (In Thai)

Wata, A. (2011). Strategies for developing community forest leaders to promote community forest conservation. Thesis, Doctor of Philosophy Program in Regional Development Strategy, Mahasarakham Rajabhat University, Mahasarakham. (In Thai)

Willer, H., & Lernoud, J. (2018). The World of Organic Agriculture : Statistics & Emerging Trends 2018. Germany : State Secretariat for Economic Affairs SECO.

Wonglousaichon, P. (2012). Academic Document of Holistic Quality Management. Bangkok : University of the Thai Chamber of Commerce. (In Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-05-07

How to Cite

ธรรมติน ท., ตรีเอกานุกูล เ., ปิงเมือง ร., & รัตนพงษ์ ว. (2021). กลไกการขับเคลื่อนเกษตรกรเข้าสู่การรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (PGS) จังหวัดเชียงราย: -. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 15(2), 210–224. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2021.37