การแสดงสร้างสรรค์ชุด “ถงไทยวน”

ผู้แต่ง

  • ธิติมา อ่องทอง วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.45

คำสำคัญ:

การแสดงสร้างสรรค์, ถง, ไทยวน

บทคัดย่อ

    สัญลักษณ์ที่แสดงถึงวัฒนธรรมดั้งเดิมดังเช่นถงของชาวไทยวนสระบุรีสามารถนำมาสร้างผลงานสร้างสรรค์ในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยการแสดงชุด “ถงไทยวน” โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพกับการวิจัยเชิงสร้างสรรค์ เริ่มต้นด้วยการสำรวจข้อมูลเชิงเอกสาร และกำหนดกลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง จำนวน 8 คน ใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาแล้วนำไปสร้างสรรค์ตามองค์ประกอบนาฏศิลป์ เพื่อสี่อสารความหมายผ่านองค์ประกอบการแสดง กำหนดกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแบบเจาะจงด้านนาฏศิลป์ 7 คน และด้านดุริยางคศิลป์ 2 คน ใช้แบบประเมินคุณภาพที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการนำเสนอการแสดงต่อผู้เชี่ยวชาญเพื่อประเมินผลคุณภาพ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า การแสดงมี 7 องค์ประกอบแสดง ประกอบด้วย 1) การกำหนดแนวคิดและรูปแบบการแสดง 2) การสร้างสรรค์ลีลาท่าทางนาฏศิลป์ 3) การสร้างสรรค์รูปแบบแถวและพื้นที่การแสดง 4) การคัดเลือกผู้แสดง 5) การสร้างสรรค์บทร้องและทำนองเพลงประกอบการแสดง 6) การสร้างสรรค์เครื่องแต่งกาย และ 7) การคัดเลือกอุปกรณ์ประกอบการแสดง ด้วยการนำเสนอ 3 ช่วง ได้แก่ 1) ที่มาและวัฒนธรรมชาวไทยวนสระบุรี 2) คุณค่าทางวัฒนธรรมของถง และ 3) การร่ายรำของหญิงสาวชาวไทยวนประกอบถง 

References

Bunkhiao, K. (2017). A Process of Local Culture Encouragement for Thai-Youn Community Strengthening in Sao-hi District, Saraburi Province. Research Report. Bangkok : The Office of National Culture Commision, Ministry of Culture. (In Thai)

Choochom, S., Ms. (2020, 4 November). Handicraft teacher, 2019. Interview. (In Thai)

Jirawatkul A. (2013). Designing a Questionnaire for Research. Bangkok : Wittayaphat. (In Thai)

Keawsamor, D., Mr., (2020, 2 November). The secretary of Thai-Yuan Saraburi Society. Interview. (In Thai)

Khrouthongkhieo, N. (2008). The track on Mural Painting at Samuha Pradit Satharam Temple in Saraburi Province. Thai Periodicals, Office of the Prime Minister, 29(105), 79. (In Thai)

Lanna Folk Club, Chiang Mai University Student Union. (1994). Peun Baan Lanna. Chiang Mai : Tipnet Karnpim Printing. (In Thai)

Lertchanrit, T. (2011). Kan-Jad-Karn-Sappayakorn-Wattanatam. Bangkok : The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organization). (In Thai)

Nuangchalerm, P. (2013). The Educational Research. Bangkok : Chulalongkorn University Press. (In Thai)

Poomina, P. (2010). The Study of Thai-Yuan Yok Mook Handwearing Fabric Tontan Sub-District, Saohai District, Saraburi Province. Thesis, Master of Education Program in Art Education, Srinakharinwirot University, Bangkok. (In Thai)

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal for Educational Research, 2, 49-60.

Saraburi Provincial Cultural Office. (2018). Intangible Cultural Heritage Collecting Project in 2018, Saraburi province, Thung Yam Thai-Yuan Saraburi. Saraburi : Saraburi Provincial Cultural Office. (In Thai)

Sensai, P. (2003). Choreography. Kalasin : Prasankarnpim Printing. (In Thai)

Thanajirawat, Z., & Burusphat, S. (2018). Tonal Geography of Tai Yuan In Southeast Asia. Bangkok : Charansanitwong Printing. (In Thai)

Thubthun, N., & Tantikul, C. (2017). The Movement Background of Chiang Saen Yuan People and the Settlement in the Central part of Thailand. The Journal of Sociology and Anthropology, Ubon Ratchathani University, 8(Special Vol. of December, 2017, ASEAN : Labor and Development), 1-174. (In Thai)

Wannakul, S., Mrs., (2020, 4 November). The President of Hall of Culture of Tai Yuan, Saraburi, interview. (In Thai)

Wetchawong, D. (2010). The Presentation of the Yuan Ethnic Identity in the Context of Tourism via Local Museum and Riverside Market : a Case Study of Yuan Community, Tombon TonTan, Sao Hai district, Saraburi province. Thesis, Master of Arts Program in Anthropology, Department of Sociology and Anthropology, Faculty of Political Science, Chulalongkorn University, Bangkok. (In Thai)

Wiroonrak, S. (2004). Lak Karn Sadang Nattayasilp Paritad (3rd Ed.) Bangkok : Chulalongkorn University. (In Thai)

ภาพ 2 การสร้างสรรค์รูปแบบแถวและการใช้พื้นที่บนเวทีจากลวดลายของถง

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-05

How to Cite

อ่องทอง ธ. (2022). การแสดงสร้างสรรค์ชุด “ถงไทยวน”. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 16(3), 56–69. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.45