การศึกษาทักษะการอ่านและทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน

ผู้แต่ง

  • อภิญญา แจ่มเจริญ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
  • วาสนา กีรติจำเริญ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.59

คำสำคัญ:

การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน, ทักษะการอ่าน, ทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสาร

บทคัดย่อ

        การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะการอ่านและทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน ก่อนเรียนและหลังเรียน 2) เปรียบเทียบทักษะการอ่านและทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน ระหว่างหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา จำนวน 184 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน มีค่าความเหมาะสมเท่ากับ 4.92 แบบวัดทักษะการอ่าน มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.95 แบบวัดทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสาร มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1.00 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.77 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการศึกษา พบว่า 1) ทักษะการอ่านและทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 2) ทักษะการอ่านและทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

Assumption College Nakhon Ratchasima. (2018). The Analytical Reading and Writing Report of Grade 12 Students. Mimeograph. (In Thai)

Assumption College Nakhonratchasima. (2018). The Name List of Secondary 6 Students in 2018 Academic Year. Nakhon Ratchasima : n. p. (In Thai)

Bern, M. (1990). Context of competence. New York : Plenum press.

Bureau academic affair. (1999). Learning Process and Learning Strategies. Bangkok : The master group management company.

Ellis, R. (2003). Task-based language Learning and Teaching. Oxford : Oxford University Press.

Hanh, N. T. M., & Tuan, L. T. (2018). The Effect of Task-based Language Teaching on EFL Learners’ Writing Performance at Tien Giang University. Can Tho University Journal of Science, 54(5), 91-97.

Hismanoglu, M. (2011). Task-Based language teaching: what every EFL teacher should do. Procedia Social and Behavioral Sciences, 15(7), 46-52.

Hudson, T. (2007). Teaching Second Language Reading. Oxford : Oxford University Press.

IQ Plus Academic Section. (2018). Everyday English Conversation. Chachoengsao: PNN media group publishing. (In Thai)

Luenam, K. (2018). Educational research methodology. Nakhon Ratchasima : Nakhon Ratchasima Rajabhat University. (In Thai)

Ministry of Education. (2008). Basic Core Curricurum B. E. 2551 (A. D. 2008) (3th ed). Bangkok : assembly printing house Agricultural Cooperatives of Thailand. (In Thai)

Ministry of Education. (2012). The Way to Teach English (9th ed). Bangkok : Khurusapha. (In Thai)

Muluneh, T. K. (2018). Improving Students Paragraph Writing Skill though Task- Based Learning. Research Report. Ambo University, Ambo Oromia Ethiopia.

Nunan, D. (2004). Task-based language teaching. New York : Cambridge University Press.

Nusen, P. (2019). The Used of Task Based Learning to Enhance English Reading and Writing Skills of English Major Students, Chiang Mai Rajabhat University. Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU, 1(1), 2-15. (In Thai)

Peacharee, A., & Prasansaph, P. (2020). Effects of Task Based Learning on Development of Grade 12 Students' Communicative English Writing Skills. The 5th National Conference May 29th 2020 Ubonratchathani (305-315). Ubonratchathani : Ratchathani University. (In Thai)

Phengsawat, W. (2008). Research methology. Bangkok : Suweeriyasan. (In Thai)

Pica, T. (2008). In Bernard Spolsky and Francis M. Hult (Eds.), The handbook of Education Linguistic (pp. 282-310). UK : Blackwell.

Prabhu, N.S. (1987). Second Language Pedagogy. New York : Oxford University Press.

Raimes, A. (1983). Techniques in Teaching Writing. Oxford : Oxford University Press.

Richards, J. C. (2006). Communicative Language Teaching Today. Cambridge: Cambridge University Press.

Saenglueang, A. (2020). Using Task-Based Learning Focusing on Daily News to Promote English Reading Comprehension of Eleventh Grade Students. Thesis, Master of Arts in Teaching English as a Foreign Language, Nakhon Ratchasima Rajabhat university, Nakhon Ratchasima. (In Thai)

Srisa-ard, B. (2017). Basicl Research (10th ed). Bangkok : Suweeriyasan. (In Thai)

Wankong, A. (2016). English Teaching in the 21st Century. Journal of Yanasangvorn Research Institute, 7(2), 303-314. (In Thai)

Watcharapornthanarat, T., & Chetchumlong. (2018). The Abilities in Reading News Articles from an English Magazine of Matthayomsuksa 6 Students at Silacharaphiphat School. Academic Journal of Humanities and Social Sciences Burapha University, 26(50), 125-141. (In Thai)

Willis, J. (1996). A Framework for task-based learning. Essex : Longman.

ภาพ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-07-27

How to Cite

แจ่มเจริญ อ., & กีรติจำเริญ ว. (2022). การศึกษาทักษะการอ่านและทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 16(3), 249–260. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.59