การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความสามารถในการเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1

ผู้แต่ง

  • ศิริพร เกตุสระน้อย คณะครุศาตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • สิริลักษณ์ วนพร ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.51

คำสำคัญ:

การพัฒนารูปแบบ, กิจกรรมแนะแนว, การเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรค

บทคัดย่อ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการ 2) พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนว และ 3) ศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลายสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1 โดยใช้วิธีคัดเลือกแบบเจาะจงเป็นกลุ่มผู้ให้ข้อมูล 12 คน กลุ่มตัวอย่าง 172 คน กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ครูระดับประถมศึกษา 2 คน และกลุ่มทดลอง 104 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวิเคราะห์เอกสาร และแบบสอบถาม มีความสอดคล้องระดับมาก ประเด็นสนทนามีความสอดคล้องระดับมากที่สุด แบบประเมินโครงร่างความเหมาะสมของรูปแบบ มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด แบบวัดความสามารถ และแบบประเมินความพึงพอใจ มีความเที่ยงเท่ากับ 0.93 และ 0.92 ตามลำดับ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสนทนากลุ่ม การแจกและรับกลับคืนการตอบแบบสอบถาม และการทดลองก่อนและหลัง สำหรับวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา สถิติค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัญหาคือ ครูยังขาดประสบการณ์ในการสอน ความต้องการคือ การอบรมกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ส่วนนักเรียนมีสภาพปัญหาในการพัฒนาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) รูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนวที่พัฒนาขึ้นมี 5 องค์ประกอบ ซึ่งมีความเหมาะสมโดยรวมยู่ในระดับมากที่สุด และ 3) นักเรียนกลุ่มทดลองมีความสามารถในการเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรคเพิ่มขึ้นก่อนการทดลอง โดยมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 

References

Boonmahome, J. (2016). Guidance Principles and Learner Development (5th ed.). Nakhon Pathom : Smile Printing and Graphic Design. (In Thai)

Khamsom, K. (2016). Introductory Guidance. Udon Thani : Faculty of Education Udon Thani Rajabhat University. (In Thai)

Laeheemi, K. (2021). The development of guidance activities model applying the learning learning managent theory of gagne and stad to enhance emotional intelligence of mathayomsuksa 2 students. Journal of Humanities and Social Sciences, 3(1), 115-144. (In Thai)

Limtasiri, O. (2013). Curriculum and Teaching at the Elementary Level (7th ed.). Bangkok : Ramkhamhaeng University. (In Thai)

Metheethammawat, M, Ratanarojnakool, P, Chaivichit, S, & Werathammo, A,. (2022). A Recreation Program for Increasing the Adversity Quotient (AQ) Score among Student Teachers in Bangkok. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health, 9(1), 174-185. (In Thai)

Ministry of Education. (1999). The National Education Act, B.E. 2542 and its amendments (No. 2), B.E. 2545. Bangkok : Teachers Council of Thailand Printing House Ladprao. (In Thai)

Nillapun, M. (2015). Educational Research Methods (9thed.). Nakhon Pathom : Educational Research and Development Center Education Silpakorn University. (In Thai)

Office of the Education Council. (2009). A Study of the Body of Knowledge about the Desirable Characteristics of Thai People. Bangkok : Office of the Education Council. (In Thai)

Onthanee, A. (2019). A develop an instructional model based on contemplative education to enhance Adversity Quotient for student teachers. Journal of Education Naresuan University, 21(3), 326-341. (In Thai)

Phiensub, T., & Mekkhachorn, N. (2021). The Enhancing Adversity Quotient of Mathayom Suksa Three Students of Karnkheha Thasai School in Bangkok Metropolis by Using a Guidance. Journal of Psychology, 19(1), 28-41. (In Thai)

Srisa-ard, B. (2017). Preliminary research (10thed.). Bangkok : Suviriyasan. (In Thai)

Srivirojn, W. (2014). Teaching Documents for The Course 1022230 Principles of Learning Management. Retrieved March 22, 2020, from http://edu.pbru.ac.th/e-media/08.pdf (In Thai)

Stoltz, P. G. (1997). Adversity Quotient : Turning Obstacles into Opportunities. New York : John Willey & Sons.

Surin primary Educational service area office 1. (2019). Educational basic information in Surin primary Educational service area office 1. Retrieved March 22, 2019, from http://www. surinarea1.go.th/srn1/index.php/2020-03-28-13-03-27/2019-03-02-08-37-57 (In Thai)

Thanatjiraphat, N., & Suksawat, J. (2021). The Effects of Using a Guidance Activities Package to Develop Digital Intelligence Quotient of Mathayom Suksa II Students at Tessaban Khao Thaphra School in Chai Nat Province. The Journal of Faculty of Applied Arts, 14(1), 1-10. (In Thai)

The Royal College Pediatricians of Thailand. (2018). Guide for Parents To Dsseminate Knowledge on Child Care and Development at School age Children 6-12 years old. Bangkok : Pediatrician Association of Thailand. (In Thai)

Tirakanan, S. (2014). Research Methods in Social Sciences: A Guide to Practice. Bangkok : Chulalongkorn University Printing House. (In Thai)

Wongyai, W. (2012). The Development of a Model for Developing Teachers in Curriculum Transformation to Learning. Silpakorn Educational Research Journal, 4(2), 10-24. (In Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-08

How to Cite

เกตุสระน้อย ศ., & วนพร ส. (2022). การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความสามารถในการเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 16(3), 138–151. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.51