การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพครู ด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ด้วยการสอดแทรกสมรรถนะสำคัญ

ผู้แต่ง

  • วาสนา กีรติจำเริญ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
  • สุภาวดี วิสุวรรณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.46

คำสำคัญ:

สมรรถนะวิชาชีพครู, การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้, สมรรถนะสำคัญ

บทคัดย่อ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถนะวิชาชีพครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต 2) พัฒนาสมรรถนะวิชาชีพครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตด้วยการสอดแทรกสมรรถนะสำคัญ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 5 จำนวน 242 คน ที่กำลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพในโรงเรียน ได้มาด้วยวิธี การเลือกแบบเจาะจง และนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา 102207 วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ 1) แบบสอบถามสมรรถนะวิชาชีพครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (ค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.60-1.00) 2) แผนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะด้วยการสอดแทรกสมรรถนะสำคัญ ซึ่งมีค่าความสอดคล้องและเหมาะสม เท่ากับ 4.83 และ 3) แบบวัดสมรรถนะวิชาชีพครู (ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.81) สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า 1) นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 5 มีสมรรถนะวิชาชีพครูด้านการบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยตัวบ่งชี้ที่มีค่าเฉลี่ยสมรรถนะวิชาชีพครูสูงสุด คือ ตัวบ่งชี้ที่ 4 การใช้และพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และ 2) นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 มีสมรรถนะวิชาชีพครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ด้วยการสอดแทรกสมรรถนะสำคัญ ส่งผลให้มีสมรรถนะวิชาชีพครูหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และสมรรถนะวิชาชีพครูหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

Boonyanon, T., & Viphoouparakhot, V. (2020). Guidelines for Teacher Functional Competencies Development in Schools Under the Chanthaburi Secondary Educational Service Area Office 17. Journal of Educational Administration, Khon Kaen University, 16(2), 42-52. (In Thai)

Chareonwongsak, K. (2010). Analytical thinking (6thed.). Bangkok : Success Media. (In Thai)

Kessunk, P., Kumyon, A., Phutthasen, G., & Kessunk, O. (2019). Competency and Need Assessment for Professional Development in 21st Century, Loei Province of Teachers in Social Studies, Religion and Culture Learning Substance. Rajamangala University of Technology Srivijaya Research Journal, 11(1), 132-145. (In Thai)

Likert, R. (1961). New patterns of management. New York : McGrow-Hill Book Company.

Ministry of Education. (2019). Guidelines for Developing Learner Competency at Basic Education Level. Bangkok : 21 century. (In Thai)

Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization). (2014). Indicators and Criteria for Assessment of ONESQA, Round Four (2016-2020), basic education level. Retrieved November 20, 2020, from http://www.thaischool1.in.th/_files_school/84101775/document/84101775_0_20170121-091453.pdf (In Thai)

Office of the Basic Education Commission. (2010). Teacher Competency Assessment Manual. Retrieved February 16, 2010, from http://www.tmk.ac.th/teacher/capasity.pdf (In Thai)

Office of the Education Council. (2020). Proactive competency-based learning management. Bangkok : 21 century. (In Thai)

Regulations of the Teachers Council of Thailand on Professional Standards (No. 4) 2019. (2020). Government Gazette. No. 137, special part, pp. 10-14. (In Thai)

Sebalo, L., & Teslenko, T. (2020). Future Teacher Training for Self-Education Activity in Physical Education at Elementary School. Revista Romaneasca pentru Educatie Multidimensionala, 12(1), 105-119. doi:10.18662/rrem/202

Smithikrai, C. (2009). Recruitment, selection and evaluation of personnel performance (3rd ed.). Bangkok : Chulalongkorn University Press. (In Thai)

Srisa-ard, B. (2017). Preliminary research (10th ed.). Bangkok : Suviriyasan. (In Thai)

Suthasinobon, K. (2017). Consciousness and ethics professional teacher. Bangkok : Commercial World Media. (In Thai)

Tanya, S. (2013). Educational research methodology. Nakhon Ratchasima : Nakhon Ratchasima Rajabhat University. (In Thai)

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2021). “Teachers of the new era to competency-based learning management”, must-have item. Academic articles, news. Retrieved July 20, 2021, from https://www.ipst.ac.th/news/12598/teacher_ipst.html (In Thai)

Udomphol, B., Tanapunyo, Phramaha, S., & Ruangsanka, R. (2020). Development of a Model for Enhancing the Competency of Buddhist Integrative Teacherhood of Students Teachers in Faculty of Education, Rajabhat University. Journal of Research and Curriculum Development, 10(1), 36-54. (In Thai)

ภาพ 3 โมเดลของการจัดการเรียนรู้ด้วยการสอดแทรกสมรรถนะสำคัญ (EPCA)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-02

How to Cite

กีรติจำเริญ ว., & วิสุวรรณ ส. (2022). การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพครู ด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ด้วยการสอดแทรกสมรรถนะสำคัญ. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 16(3), 70–81. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2022.46