รูปแบบและชุดความรู้นาฏยศิลป์สร้างสรรค์ ชุด “เสน่ห์ศิลป์”

ผู้แต่ง

  • ภัทรฤทัย กันตะกนิษฐ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2021.67

คำสำคัญ:

ภาพจิตรกรรมบนเพดานในสิมวัด, ศิลปกรรมพื้นบ้าน, มอญโคราช, ชุดความรู้, เสน่ห์ศิลป์

บทคัดย่อ

    ฝีมือการวาดภาพจิตรกรรมบนเพดานในสิมวัดของชาวมอญอำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา นำมาสู่การศึกษาลักษณะและความหมาย เพื่อหารูปแบบของผลงานทางด้านนาฏยศิลป์สร้างสรรค์และจัดทำชุดความรู้เผยแพร่การแสดงผลงานนาฏยศิลป์สร้างสรรค์ ชุด “เสน่ห์ศิลป์” ครั้งนี้ ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาข้อมูลเชิงเอกสารแล้วนำมาสร้างเป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างที่มีความสอดคล้องกับเนื้อหาทั้งฉบับเท่ากับ 1.00 นำไปเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามโดยทำการสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นรายบุคคลกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ซึ่งทำการคัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 6 คน แบ่งเป็น กลุ่มผู้นำ 3 คน และกลุ่มผู้รู้ 3 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีอุปนัยที่เน้นการตีความเพื่อสร้างข้อสรุป และสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้การวิจัยเชิงสร้างสรรค์ด้วยการออกแบบองค์ประกอบ ได้แก่ บทการแสดงและเพลงประกอบ เครื่องแต่งกาย นักแสดง ลีลาและสัญลักษณ์ อุปกรณ์ประกอบการแสดง พื้นที่ในการแสดง และแสงและเทคนิคพิเศษ โดยคัดเลือกนักแสดงแบบเจาะจงเป็นผู้หญิงที่มีทักษะ พื้นฐาน และผ่านการแสดงผลงานในระดับชาติไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง รวม 13 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการทดลองแสดง จำนวน 4 ครั้ง และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เนื้อหาแบบพรรณนาบรรยายพร้อมภาพประกอบ ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะและความหมายจำแนกได้ 4 ลักษณะ ได้แก่ 1) สัตว์ตามธรรมชาติ 2) สัตว์เหนือธรรมชาติ 3) พันธุ์พฤกษา และ 4) ดวงดาว โดยรูปแบบการสร้างสรรค์ที่ได้ตามองค์ประกอบ คือ 1) โครงเรื่อง ได้แก่ เดินทาง รวบรวม และสร้างบุญ 2) ได้นักแสดงนาฏยศิลป์ไทยและพื้นเมือง 3) ใช้แนวคิดการเดินทาง กลายเป็นชุมชนชาวมอญ และการวาดลวดลายเส้นสายทางศิลปะเพื่อเป็นพุทธบูชา 4) ใช้เพลงลาวคำหอม เพลงมอญดูดาว และเพลงจีนเก็บบุปผา เป็นเสียและดนตรี 5) ใช้ผ้าสีขาวพิมพ์ลายภาพจิตรกรรมเป็นอุปกรณ์ 6) ใช้พื้นที่ลักษณะโล่งกว้างเน้นระยะใกล้-ไกล และ 7) แต่งกายแบบชาวมอญในท้องถิ่น สำหรับชุดความรู้ที่ได้ ประกอบด้วย สัญลักษณ์การแปรแถวฝึกปฏิบัติท่ารำ และท่ารำ ที่สร้างภาพลักษณ์ถ่ายทอดองค์ความรู้ผลงานแสดงต่อสาธารณชน อันมีคุณค่าต่อคนไทยและคนไทยเชื้อสายมอญในท้องถิ่น  

References

Arts and Culture CNX. (2020). Kan-Ram-Mon. Retrieved October 30, 2020, from https://artsandculture-cnx.com/การรำมอญ/ (In Thai)

Boonrod, S. (2014). Appropriation art. Retrieved October 30, 2020, from https://www.facebook.com /notes/414969839899696/ (In Thai)

Chamnanmor, D. (2014). The dance creation to stop violence on women. Dissertation, Doctor of Fine and Applied Arts Program in Fine and Applied Arts, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University, Bangkok. (In Thai)

Chandnasaro, D. (2014). The dance from concept of trilaksana in buddhism. Dissertation, Doctor of Fine and Applied Arts Program in Fine and Applied Arts, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University, Bangkok. (In Thai)

Charassri, N. (2005). History of Western Danece. Bangkok : Chulalongkorn University Press. (In Thai)

Charassri, N. (2016). Professor Dr. Interview.

Cultural Arts Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat Institute. (1995). Good things Korat Volume 2 : Arts and Languages. Nakhon Ratchasima : Nakhon Ratchasima Rajabhat Institute. (In Thai)

Denzin, N. K., & Lincoln, Y. S. (2000). The discipline and practice of qualitative research. In N. K. Denzin and Y. S. Lincoln (Eds.). Handbook of Qualitative Research (2nd ed.). (pp. 1-36). Thousand Oaks, CA : Sage.

Furage, S. (2011). Mime : The art of gestures and movement. Bangkok : Thammasat University Press. (In Thai)

Hazelton, L. (2009). Loie Fuller. Retrieved October 30, 2020, from http://loiefullerproject.blogspot.com/

Inta, B. (2007). A Study of Forms and Meaning of the Ceilling Paintings at Wat Pathum Khong Kha (Wat Nok-ok). Research report. Nakhon Ratchasima Rajabhat University, Nakhon Ratchasima. (In Thai)

Inthakanok, W. (1977). Lao-Rueang-Mueang-Nakhon Ratchasima-Boran-Nai-Watthanatham-Thai-Phak-Ta-Wan-Ok-Chiang-Nuea. Nakhon Ratchasima : Nakhon Ratchasima Institute. (In Thai)

Jiwakanon, R. (2007). Old Story Project New Story 3: Art Direction for Contemporary Drama. Research report. The Thailand Research Fund, Bangkok. (In Thai)

Kaewthep, K. (2009). Media Analysis : Concepts and Techniques. Bangkok : Phapphim. (In Thai)

Makpa, P. (2004). Choetching : A standard male dance in lakon nai. Thesis, Master of Arts Program in Thai Dance, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University, Bangkok. (In Thai)

Mukdamanee, W. (2014). Artists with creative research. Research Community, 20(115), 8-10. (In Thai)

Na Songkhla, W. (1990). Mural painting in Thailand. Bangkok : Fine Arts Department. (In Thai)

Nathayanawin, N. (2015). The creation of a dance by slave. Dissertation, Doctor of Fine and Applied Arts Program in Fine and Applied Arts, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University, Bangkok. (In Thai)

Nop-udomphan, K. (2011). History of thai costume. Bangkok : Srinakharinwirot University. (In Thai)

Paladsingh, P. (2000). Kon Mon. Nonthaburi : Thanbuakaew. (In Thai)

Phatkulphisal, T. (2017). The creation of thai contemporary dance in the concept of front and back. Institute of culture and arts journal srinakharinwirot Unvierstiy, 21(1), 158-165. (In Thai)

Phothisita, C. (2011). Science and Art of Qualitative Research (5th ed.). Bangkok : Amarin Printing. (In Thai)

Piromrak, C. (2019). Creation of Khuen Loy in Khon. Humanities and Social Sciences Journal, Ubon Ratchathani Rajabhat University, 10(1), 188-200. (In Thai)

Ratnin, M. (2003). Introduction to the art of directing and performing concerts. Bangkok : Thammasat University Press. (In Thai)

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal for Educational Research, 2, 49-60.

Sirasonnthorn, P. (2015). The Participatory Knowledge Management for the Development of Social Innovation for Mon’s Cultural Community Learning: A Case of Bangka Dee, Bangkok Thailand. Research report. Department of Cultural Promotion, Ministry of Culture, Bangkok. (In Thai)

Uparamai, W. (2010). Dramatic works and Dramatics. Bangkok : Chulalongkorn University Press. (In Thai)

Watcharapan, P. (2016). Creation of dramatice arts. Udon Thani : Faculty of Education, Udon Thani Rajabhat University. (In Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-09

How to Cite

กันตะกนิษฐ์ ภ. (2021). รูปแบบและชุดความรู้นาฏยศิลป์สร้างสรรค์ ชุด “เสน่ห์ศิลป์”. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 15(4), 85–98. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2021.67