แรงจูงใจกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรม กรณีศึกษา : สำนักอำนวยการประจำศาลอาญารัชดา

Main Article Content

ปานทิพย์ อิ่มจิต

บทคัดย่อ

             การศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง แรงจูงใจกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรม กรณีศึกษา : สานักอานวยการประจาศาลอาญารัชดา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรม (2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการ ศาลยุติธรรม ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจโดยวิเคราะห์ข้อมูลดาเนินการ ตามกระบวนการวิจัยเชิงปริมาณกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ข้าราชการศาลยุติธรรมสานักอานวยการประจา ศาลอาญารัชดา จานวน 139 คน ในการศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูลสถิติ คือค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้การวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน


             ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าระดับความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาปัจจัยจูงใจเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีระดับความคิดเห็นมากที่สุดคือด้านความสำเร็จในงาน รองลงมาคือด้านลักษณะของงาน ด้านความรับผิดชอบในงาน ด้านความก้าวหน้าในงาน ด้านการได้รับการยอมรับ และปัจจัยค้าจุนเป็นรายด้าน พบว่าด้านที่มีระดับความคิดเห็นมากที่สุด คือด้านความมั่นคงในงาน รองลงมาคือ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านนโยบายและการบริหารงาน ด้านสภาพแวดล้อมในการทางาน และด้านเงินเดือนและผลตอบแทน สาหรับแรงจูงใจในการทางานมีสหสัมพันธ์กับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญที่ 0.05 โดยมีระดับของความสัมพันธ์ระดับสูงมาก (r = .854) โดยทุกด้าน มีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัลยา วานิชย์บัญชา และคณะ. (2560). การใช้ SPSS FOR WINDOWS ในการวิเคราะห์ข้อมูล. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เฉลิม สุขเจริญ. (2556). แรงจูงใจในการทางานกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี. สารนิพนธ์การศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยเกริก.
ชูเกียรติ ยิ้มพวง. (2554). แรงจูงใจที่มีผลต่อกี่ปฏิบัติงานกรณีศึกษาบริษัท บางกอกกล๊าส จำกัด โรงงานจังหวัดปทุมธานี. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ชูยศ ศรีวรขันธ์. (2553). ปัจจัยแรงจูงใจต่อผลการปฏิบัติงาน: กรณีศึกษาขององค์การบริหารส่วนตำบล เขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมานครราชสีมา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
โชติกา ระโส. (2555). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. ปริญญานิพนธ์ สาขาการอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ดาริกาศรี พระจันทร์. (2553). องค์ประกอบที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน เทศบาลตำบลในเขตอำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
สำนักงานศาลยุติธรรม. (2547). รวมระเบียบ ประกาศ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม. กรุงเทพมหานคร: ศรีเมืองการพิมพ์.
Domjan, M. (1996). The Principles of Learning and Behavior Belmont. California: Thomson Wadsworth.
Gibson, Jame.L.. and Others. (1988). Organizational: Behavior,structure. Process 3 rd ed. Dallas; Texas: Business Publications,Inc.
Herzberg, F. Federick; Mausner. Bernard; and Synderman. (1959). Block the Motivation to Work. New York: John Willey.
Loudon, David and Bitta, Albert. (1988). Consumer Behavior : Concepts and Applications. 3 rd. ed. New York : McGraw Hill.
Maslow, A. (1970). Motivation and Personality. (2nd ed.). New York: Harpers and Row.
Robbins, S. P. (1996).Prentice Hall Organization Behavior: Concept. Controversies and Applications. (7th ed.). Englewood Cliffs; NJ: Prentice Hall.
Vroom, V.H. (1994). Work and Motivation. New York: John Wiley & Son.
Yamane, Taro. (1967). Statistics: An Introductory Analysis. 2nd Edition. New York: Harper and Row.