จิตวิทยาการศึกษา

Main Article Content

พระศรีญาณวงศ์ ปณฑิตเสวี
พระเมธีปริยัติธาดา จารุปญโญ
อภินันท์ จันตะนี
ชมพูนุช ช้างเจริญ
ราณี จีนสุทธิ์

บทคัดย่อ

การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยวิธีทางจิตวิทยาการศึกษา ซึ่งเป็นการพัฒนาที่ยึดหลักวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในตัวของผู้เรียน ในสภาพการเรียนการสอนหรือในชั้นเรียน เพื่อค้นคว้าหลักการและทฤษฎีที่จะนำมาช่วยแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษา และส่งเสริมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำให้ผู้เป็นครู-อาจารย์ได้พัฒนาผลงานทางวิชาการเพื่อถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้กับนิสิตนักศึกษาได้สำเร็จเป็นบัณฑิตหรือปัญญาชนในสาขาวิชาที่เข้าศึกษา โดยที่จิตวิทยาการศึกษาเป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียน และนักจิตวิทยาการศึกษาต่างก็แสวงหาความรู้ขั้นสูงเพื่อนำมาประยุกต์เข้ากับจิตวิทยาการศึกษา ด้วยการปรับปรุงเกี่ยวกับความต้องการทางการศึกษาให้มีหลักการและทฤษฎี ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับบุคคลทุกวัย ทั้งเด็กเล็ก วัยรุ่น วัยทำงาน ครูผู้สอน รวมทั้งผู้บริหารการศึกษา นักแนะแนว ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรทางการศึกษา


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ณัฐภร อินทันยศ. (2556). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมโภช ศรีวิจิตรวรกุล. (2561). จิตวิทยาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : บริษัทจรัญสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด.
สิริอร วิชชาวุธ. (2554). จิตวิทยาการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
https://www.baanjomyut.com/library_2/intellectual_development_theory/01.html [21 มกราคม 2561]
B.F.Skinner Foundation. (2018). Contributions to psychological theory. [Online]. (n.d.) Available
from: https://en.wikipedia.org/wiki/B._F._Skinner [2018, January 21]
Bandura, A. (1969). Social-learning theory of identificatory processes. In D.A.Goslin
(Ed.), Handbook of socialization theory and rese arch. Chicago: rand McNally.
Gestalt, (2011). Gestalt cognitive Learning theory. New York: Basic Books.
John B. Watson.(1946). Methods of child psychology. In L. Carmichael (Ed.), Manual of
child psychology. New York. NY: Wiley.
Pavlov, I.P.(1927). Conditioned reflexed: An investigation of the physiological activity
of the cerebral cortex. London: Oxford University Press.
Robert, M. Gagne. (2002). Learning hierarchies. N.J: Prentice Hall.
http://www.slideshare.net/NISACHOL_P/ss-23031148
Thorndike, E.L.(1911b). Animal intelligence: Experimental studies. New York: MacMillan.