การพัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑ์ “กาแฟมะขามแดงเพื่อสุขภาพ”

Main Article Content

ณัฏฐชัย เอกนราจินดาวัฒน์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ปริมาณสารแอนโทไซยานิน ในผลิตภัณฑ์กาแฟมะขามแดงเพื่อสุขภาพ 2) ออกแบบและสร้างสรรค์พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากมะขามแดงเพื่อสุขภาพ ในการสร้างมูลค่าเพิ่มและนำไปสู่การต่อยอดทางเศรษฐกิจ และ 3) วิเคราะห์ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑ์กาแฟมะขามแดงเพื่อสุขภาพ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนที่มีรายชื่อในทะเบียนบ้านในเขตอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 400 คน โดยการสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้วิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยระหว่างเดือน มีนาคม - มิถุนายน 2565 การวิจัยเชิงปริมาณ คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการศึกษาพบว่า 1) การตรวจวิเคราะห์หาปริมาณสารแอนโทไซยานินในผลิตภัณฑ์กาแฟมะขามแดงเพื่อสุขภาพพบปริมาณสารแอนโทไซยานิน 2.74 mg/100 ml 2) การออกแบบและสร้างสรรค์พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากมะขามแดงเพื่อสุขภาพ อยู่ในระดับมากทุกด้าน และ 3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑ์กาแฟมะขามแดงเพื่อสุขภาพ อยู่ในระดับมากทุกด้าน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2562). ธุรกิจผลิตกาแฟ บทวิเคราะห์ธุรกิจ ประจำเดือน มกราคม 2562. กรุงเทพฯ: ส่วนประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจ กองข้อมูลธุรกิจ, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า.

กรมวิชาการเกษตร. (2563). การคัดเลือกสายต้นมะขามเปรี้ยวเนื้อสีแดง. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2564, จากhttps://www.doa.go.th/hort/wp-content/uploads/2020/10/การคัดเลือกสายต้นมะขามเปรี้ยวเนื้อสีแดง.pdf

กองวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร. (2553). ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง สรุปสถานการณ์กาแฟปี 2553 และแนวโน้ม 2554. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2564, จาก http://www.oae.go.th/downlo ad/journal/trends2555.pdf

ชาคร อ่อนฉวี. (2558). ผลกระทบของประสิทธิภาพการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีผลต่อ การดำเนินงานของธุรกิจสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มในภาคกลาง (วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ณรงค์ กุลนิเทศ และ สุดาวรรณ สมใจ. (2558). ระเบียบวิธีวิจัยชั้นสูง และการออกแบบวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพ: มาสเตอร์พรินท์ สามเสน.

ไทยรัฐออนไลน์. (2559). “มะขามเนื้อแดงฝักตรง”เปรี้ยวจัดราคาดี. ค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2564, จากhttps://www.thairath.co.th/content/574323

ทศธรรม สิงคาลวณิช. (2553). รูปแบบการสร้างมูลค่าเพิ่มในอาคารชุดพักอาศัยระดับกลางบนถึง ระดับบนในเขตวัฒนา-คลองเตย กรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นงลักษณ์ สุขวาณิชย์ศิลป์. (2563). กาแฟ…ระวังในโรคใด?. ค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2564, จาก https://pharmacy. mahidol.ac.th/th/knowledge/article/491/กาแฟ…ระวังในโรคใด?/

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สำนักงานทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

มลิจันทร์ ทองคำ และคณะ. (2555). หลักการตลาด. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วรรณวิษา ศรีรัตนะ และวิศิษฐ์ ลิ้มสมบุญชัย. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจและการตัดสินใจในการเลือกซื้อน้ำส้มพร้อมดื่ม 100 เปอร์เซ็นต์ของผู้บริโภค (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วราภรณ์ วิทยาภรณ์ และคณะ. (2561). การพัฒนาผลิตภัณฑ์กาแฟผงเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์กาแฟจากชุมชน บ้านบ่อสี่เหลี่ยม อำเภองาว จังหวัดลำปาง (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

ศิวัช จันทนาสุภาภรณ์. (2554). พฤติกรรมการเปิดรับสื่อ. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ศรีเวียง ทิพกานนท์ รัชนี เจริญ วรรณทิชา เศวตบวร และวิบูลย์ เหรียญสง่าวงศ์. (2561). การสร้างแนวคิดผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจมูกข้าวสำหรับผู้สูงอายุในจังหวัดปราจีนบุรี. วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์สาขาสังคมศาสตร์, 39(1), 674-683.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2541). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: วิสิทธิ์พัฒน.

สำนักงานจังหวัดสมุทรสาคร. (2564). แผนพัฒนาจังหวัด 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) (ฉบับทบทวน) (รอบปี พ.ศ.2564) จังหวัดสมุทรสาคร. ค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2564, จาก http://www.samutsakhon.go.th/_new/ files/com_news_devpro/2020-06_33186312836c656.pdf

อานนท์ ภาคมาลี.(2559). ความรู้เกี่ยวกับมะขามแดง. ค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2564, จาก https://www.gotoknow. org/posts/614026

BDMS Wellness Clinic. (ม.ป.ป.). คลินิกสุขภาพเชิงป้องกัน และฟื้นฟู. ค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2564, จากhttp://www.bdmswellness.com/clinics-services/prevention-and-wellness-clinic#clinic-doctor

Best, J. W. (1981). Research in Education. New Jersey: Prentice – Hall.

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing. (5thed.). New York: Harper Collins Publishers.

Etzel, M. J., Walker, B. J., & Stanton, W. J. (2001).Marketing. (12th ed.). New York: McGraw-Hill Companies, inc.

Kotler, P. & Keller, K. L. (2012). Marketing Management. (13th ed). New Jersey: Prentice Hall.

Sharma, I. P. (2018). Impact of myopia and high myopia. Retrieved December 9, 2021, from https://www.slideshare.net/indrapsharma/impact-of-myopia-and-high-myopia

Yamane,T. (1973).Statistics: An Introductory Analysis. (3rd Ed.). New York: Harper and Row Publications.