รูปแบบวิสัยทัศน์การจัดการสาธารณชนสร้างสรรค์ทางดัชนีพัฒนามนุษย์ อยู่ดีมีสุขของคนรุ่นอัลฟา กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

Main Article Content

ดวงกมล พลศิริพิพัฒน์
ชยุต ภวภานันท์กุล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลสภาพการณ์ปัจจุบันเป็นปัจจัยพึงประสงค์ การจัดการสาธารณชนสร้างสรรค์ทางดัชนีพัฒนามนุษย์อยู่ดีมีสุขของคนรุ่นอัลฟา กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข และ 2) เพื่อสร้างรูปแบบวิสัยทัศน์การจัดการสาธารณชนสร้างสรรค์ทางดัชนีพัฒนามนุษย์อยู่ดีมีสุขของคนรุ่นอัลฟา กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การวิจัยแบบเทคนิคเดลฟาย ผู้ให้ข้อมูลสำคัญเป็นผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ทางดัชนีพัฒนามนุษย์อยู่ดีมีสุขของคนรุ่นอัลฟาจากภาครัฐและเอกชน จำนวนทั้งหมด 17 คน ตามเกณฑ์ของแมคมิลแลน โดยวิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงฉันทามติของข้อมูลใช้การวิเคราะห์จากการสัมภาษณ์เชิงลึกและแบบสอบถาม สถิติเชิงพรรณนา มัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ จากการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยพึงประสงค์ 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยอัตวิสัย ประกอบด้วย คิดให้เป็น คิดที่มีประโยชน์
คิดเชิงบวก และคิดเสริมสร้าง ปัจจัยภาวะวิสัย ประกอบด้วย การปรับตัว การเรียนรู้ การรู้เท่าทัน และการเพิ่มความสุข 2) จากการสังเคราะห์นำดัชนีมวลรวมประชาชาติ และ 7S ของแมคคินซีย์ ทำให้เกิดคุณค่าสร้างสรรค์และสร้างรูปแบบบูรณาการวิสัยทัศน์การจัดการสาธารณชนสร้างสรรค์นำการสร้างความสำเร็จดัชนีพัฒนามนุษย์อยู่ดีมีสุขของคนรุ่นอัลฟาสู่สังคม 5.0 เพื่อเป้าหมายพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมถึงคนไทย 4.0

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมกิจการเด็กและเยาวชน. (2561). รายงานการพัฒนาเด็กและเยาวชน ประจำปี พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2562). แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2561 - 2580). ค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2563 จาก https://www.dmh-elibrary.org/items/show/450

ภูเบศร์ สมุทรจักร, กมลชนก ขำสุวรรณ และกัญญาพัชร สุทธิเกษม. (2563). โลกที่ 3 ของ ซี-แอลฟา.(พิมพ์ครั้งที่ 1). นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580). (2561). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 135 ตอนที่ 82 ก 13 ตุลาคม 2561.

ABC NEWS Radio. (2020). What to know about Gen Alpha, the generation born 2010 to today. New York: ABC Audio.

Amabile, T. M. (1989). Growing Up Creative: Nurturing a Life of Creativity. New York: Buffalo, Creative Education Foundation.

Cuzzocrea, V. (2019). Moratorium or Waithood? Forms of Time Taking and the Changing Shape of Youth. Time & Society, 28(2), 567-586.

Easton, D. (1965). System Analysis of Political Life. New York: John Wiley.

Epstein, N. B., Bishop, D. S. & Levin, S. (1978). The McMaster Model of Family Functioning. Journal of Marital and Family Therapy, 4(4), 19-31.

Haq, M. ul. (1999). Reflection on Human Development. Delhi: Oxford University Press.

Hunt, S. A. (2009). Family Trends: British Families since the 1950s. London: Research and Policy for the Real World, Family & Parenting Institute.

Inhorn, M. C. & Smith-Hefner, N. J. (2020). Waithood Gender, Education, and Global Delays in Marriage and Childbearing. New York: Berghahn Books.

Kocaoğlu, B. & Demir, E. (2019). The Use of McKinsey’s 7s Framework as a Strategic Planning and Economic Assessment Tool in the Process of Digital Transformation. Pressacademia, 9(9), 114-119.

Lüchters, G. & Menkhoff, L. (2000). Chaotic Signals from HDI Measurement. Applied Economics Letters, Taylor & Francis Journals, 7(4), 267-270.

Macmillan, T. T. (1971). The Delphi Technique. Washington, D.C.: ERIC Clearinghouse.

Nagy, Á. & Kölcsey, A. (2017). Generation Alpha: Marketing or Science? Acta Technologica Dubnicae. 7(1), 107-115.

Pedace, L. (2008). Research Paper: Child Wellbeing in England, Scotland and Wales: Comparisons and Variations. London: Research and Policy for the Real World, Family & Parenting Institute.

Sen, A. (2000). A Decade of Human Development. Journal of Human Development, 1(1), 17-23.

Streeten, P., Burki, S. J., UI-Haq, M., Hicks, N. & Stewart, F. (1981). First Things First: Meeting Basic Human Needs in the Developing Countries. New York: A World Bank Publication, Published for the World Bank, Oxford University Press.

United States, Department of State. (1970). Diplomacy for the 70’s: A Program of Management Reform for the Department of State. Washington, D. C.: The Superintendent of Documents U.S. Government Printing Office.