การใช้องค์กรการกุศลในการสร้างความนิยมของนักการเมือง
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบทบาทของนักการเมืองในการใช้องค์กรการกุศลในการสร้างความนิยม 2) ศึกษากิจกรรมที่นักการเมืองใช้สร้างความนิยมจากองค์กรการกุศล และ 3) เสนอแนะแนวทาง
ในการควบคุมกิจกรรมทางการเมืองให้อยู่ในทิศทางที่เหมาะสม เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งใช้วิธีการวิจัยเอกสาร และการสัมภาษณ์เชิงลึก จากนักการเมืองที่เป็นสมาชิก ผู้บริหารระดับสูง และเจ้าหน้าที่ขององค์กรการกุศลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหาแล้วตีความหมาย เพื่อสรุปผลตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่กำหนดไว้
ผลการวิจัย พบว่า 1) การศึกษากิจกรรมที่นักการเมืองใช้สร้างความนิยมจากองค์กรการกุศล นักการเมืองกับสโมสรไลออนส์ในต่างประเทศ และประเทศไทยไม่แตกต่างกันในส่วนของนโยบาย ที่ยังไม่มีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการป้องกันไม่ให้สมาชิกใช้สโมสรเป็นที่สร้างความนิยมทางการเมือง 2) กิจกรรมที่นักการเมืองใช้สร้างความนิยม คือกิจกรรมการลงพื้นที่ และเป็นตัวแทนของสโมสร โดยใช้กลยุทธ์การสร้างชื่อเสียงให้เป็นที่รู้จัก และกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ 3) แนวทางในการควบคุมกิจกรรมทางการเมืองให้อยู่ในทิศทางที่เหมาะสม พบว่า
มีทั้งหมด 3 แนวทาง คือ 1) การวางระเบียบในการลงพื้นที่ 2) การกำหนดกฎหมายสำหรับการหาเสียงของนักการเมืองที่ทำงานภายใต้องค์กรการกุศลให้ชัดเจน และ 3) การทำกิจกรรมปลูกฝังการต่อต้านการใช้สโมสรเป็นเครื่องมือสำหรับการสร้างความนิยม
Article Details
References
กรมสรรพากร. (2561). รายชื่อมูลนิธิ สมาคม สถานสาธารณกุศล. ค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2561, จาก http://www.rd.go.th/publish/29157.0.html
กรมสรรพากร. (2565). ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 531). ค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2565, จาก https://www.rd.go.th/46844.html
เกษม แก้วสนั่น และเพ็ญศรี ฉิรินัง. (2564). การจัดการองค์กรไปสู่ความสำเร็จ. วารสารพุทธสังคมวิทยาปริทรรศน์, 6(4), 88-108.
จักษ์ พันธ์ชูเพชร. (2548). รัฐศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 9 กรุงเทพฯ: บริษัท เคล็ดไทย จำกัด
จุมพล หนิมพานิช. (2552). กลุ่มผลประโยชน์กับการเมืองไทยแนวเก่า แนวใหม่และกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฉัฏฐ์สุดา ชัยโฉม, จักรี ศรีจารุเมธีญาณ และชุลีพร นาหัวนิล. (2564). ระบบการบริหารราชการไทย. วารสารพุทธมัคค์ ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม, 6(1), 241-247.
ณัฐพล ใจจริง. (2561). นักการเมืองท้องถิ่น.ค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2561, จาก http://wiki.kpi.ac.th/ index.php?title
ดำรงศักดิ์ จันโททัย. (2563). การจัดการสาธารณะเชิงความร่วมมือโดยภาคีที่สาม. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 14(1), 434-452.
ธร ปีติดล. (2562). หลากคำถามเรื่องประชาสังคม (1): ปัญหาของแนวคิด. ค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2563,
จาก https://www.the101.world/arguments-of-civil-society-1/
ประภาส ปิ่นตบแต่ง. (2558). กรอบการวิเคราะห์การเมืองแบบกลุ่มผลประโยชน์: พัฒนาการ ข้อถกเถียง และสถานภาพการศึกษาวิจัย. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 41(2), 1-18.
พระครูปลัดวัชรพงษ์ วชิรปญฺโญ. (2564). การสร้างภาพลักษณ์ทางจริยธรรมของนักการเมืองไทยยุคใหม่. ประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 7 “วิถีพุทธ วิถีชุมชน รากฐานชีวทัศน์เชิงสังคมล้านนาในสังคมวิถีใหม่” วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 ณ วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, หน้า 717 – 727.
พระศิลาศักดิ์ สุเมโธ (บุญทอง) และบุญฤทธิ์ เพ็ชรวิศิษฐ์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการกล่อมเกลาทางการเมืองกับวัฒนธรรมทางการเมือง. วารสารปัญญาปณิธาน, 4(1), 33-49.
มะลิ ทิพพ์ประจง และนิพนธ์ ทิพย์ศรีนิมิต. (2562). อำนาจผลประโยชน์ทางการเมือง.วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์, 2(2), 16-32.
เมน สแตนด์. (2563). ทำไม ประธานสโมสร จึงเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของทีมฟุตบอลเมืองไทย?. ค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.blockdit.com/posts/ 5e7c4773f6a02a0cabf823cd
รุ่งเกียรติ เอี้ยวสุขสันต์. (2550). การสร้างฐานคะแนนเสียงของพรรคการเมือง: ศึกษาเฉพาะกรณีพรรคประชาธิปัตย์ ในจังหวัดสมุทรสงคราม (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วัลลภ รัฐฉัตรานนท์ และนพพล อัคฮาด. (2558). การศึกษาการเมืองถิ่นและนักการเมือง-ถิ่นจังหวัดหนองบัวลำภู. วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2(1), 23-48.
ศตพล วรปัญญาตระกูล. (2554). วัฒนธรรมทางการเมือง: รูปแบบที่เหมาะสมในเชิงความสัมพันธ์ระหว่างการรวมกลุ่มและบทบาททางการเมืองของสมาชิก-ผู้แทนราษฎร (ดุษฏีนิพนธ์ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สานนท์ ด่านภักดี และคณะ. (2561).พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองในประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง,7(2), 377-392.
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2562). บทบาทและหน้าที่ของพรรคการเมือง. ค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2562, จาก http://kanchanapisek.or.th/
อริสา เหล่าวิชยา, (2556). ภาพลักษณ์นักการเมือง. วารสารนักบริหาร, 33(2), 57-62.
อรุณี สัณฐิติวณิชย์. (2560). ฐานปรัชญาของระบบราชการในอุดมคติ. Kasetsart Journal of Social Sciences, 38(2), 679-688.
Almond, G. A., & Verba, S. (1965). The civic culture: Political attitudes and democracy in five nations. Boston: Little, Brown and Company.
Almond, G. A., & Powell, G. B. (1980). Comparative politics today: A world view. Boston: Little, Brown.
Lions Club. (2013). ประวัติสโมสรไลออนส์. ค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2564,จาก http://lions-good mantown.org/index.php/category/2-2013-10-12-04-40-42