แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แรงงานข้ามชาติ

Main Article Content

เอกลักษณ์ เทพนิกร
สุเชาวน์ มีหนองหว้า
รัชยา ภักดีจิตต์

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นบทความวิชาการอธิบายถึงภาพรวมของแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แรงงานข้ามชาติของประเทศไทย ซึ่งในปัจจุบันรัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับนโยบายในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นเป็นภารกิจหลักของของประเทศ โดยเกริ่นนำถึงนโยบายการทรัพยากรมนุษย์ของไทย สถานการณ์แรงงานข้ามชาติในประเทศไทยในปัจจุบัน ความสำคัญของของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แรงงานข้ามชาติ แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และข้อเสนอแนะที่น่าสนใจ คือ แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แรงงานข้ามชาติของไทย

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน. (2566). สถิติจำนวนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงานคงเหลือทั่วราชอาณาจักร. ค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2566, จาก https://www.doe.go.th

คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2566). แรงงานข้ามชาติ : ชีวิต สิทธิ และความหวัง. ค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2566 , จาก https://www.masscomm.cmu.ac.th/

ศูนย์สำรวจความคิดเห็นนิด้าโพล สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. (2566). มีลูกกันเถอะน่า.ค้นเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2566, จาก https://nidapoll.nida.ac.th/data/survey/

สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.(2561).ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580. ค้นเมื่อ 31 สิงหาคม 2566, จากhttp://nscr.nesdb.go.th/

สุขุมวิทย์ ไสยโสภณ. (2560). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แนวคิด ทฤษฎี และการปฏิบัติ. อุดรธานี: ศรีอัครา.

Gilley, J.W., Eggland, S.A. & Ggilley, A.M. (1989). Principles of Resource Development. Cambrige, Mass: Pearson Book.

Nadler, L., & Wiggs, G. D. (1989). Human Resources Development, 3rd Edition. San Francisco, California, USA.: Jossey-Bass Inc.

McClelland, D.C. (1973). Testing for Competence rather than for Intelligence . American Psychologist, 28(1) ,1-4.

WCED. (1987). The Brundtland Report. New York: Oxford University Press.