การเผยแผ่หลักพุทธธรรมของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้กล่าวถึงการเผยแผ่หลักพุทธธรรมการทำงานของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) สะท้อนถึงการบริหารที่มองการณ์ไกล การเป็นตัวอย่างที่ดี การปรับตัวตามยุคสมัย และการสร้างความเชื่อถือในองค์กร ซึ่งทั้งหมดนี้นำไปสู่การเผยแผ่พระพุทธศาสนาอย่างมีประสิทธิภาพและการพัฒนาอย่างยั่งยืนในสังคมปัจจุบันที่มีบทบาทสำคัญในการบริหารและเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทย ด้วยวิสัยทัศน์ที่ล้ำลึกและการปฏิบัติที่เป็นแบบอย่าง ดังนี้ 1. วิสัยทัศน์และการมองไปข้างหน้า 2. การเป็นตัวอย่างที่ดี 3. การสร้างความเชื่อถือและความสัมพันธ์ 4. การปรับตัวและบูรณาการ และ 5. การพัฒนาและการสร้างฐาน โดยการเน้นการพัฒนาและสร้างฐานที่มั่นคงให้กับคณะสงฆ์เพื่อให้สามารถเติบโตและพัฒนาต่อไปได้ด้วยวิธีการเผยแผ่ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) ดังนี้ 1) การแสดงตัวอย่างที่ดี 2) การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี 3) การสร้างฐานและการยอมรับ และ 4) การบริหารจัดการแบบบูรณาการ และหลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เป็นไปอย่างกว้างขวางและมีประสิทธิภาพ คือ 1) การส่งเสริมการปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน 2) การเผยแผ่ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง 3) การวางแผนยุทธศาสตร์และการพัฒนาทักษะ 4) การปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมและ 5) การใช้วิธีการที่ผสมผสาน เพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้อย่างดีที่สุด
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
References
แก้ว ชิดตะขบ. (2553). ประวัติความสำคัญของการเผยแผ่พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
ตุลา มหาพสุธานนท์. (2554). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ: พี เอ็น เค แอนด์ สกายพริ้นติ้งส์.
เจ้าอธิการสมพงษ์ สุจิตฺโต (ธนะคูณ). (2561). การประยุกต์ใช้จิตสาธารณะของพุทธบริษัทตามหลักพุทธธรรม.วารสารวิจัยวิชาการ, 1(2), 59-74.
พระครูวินัยธรปัญญา ปญฺญาวโร. (2564). การจัดการเผยแผ่พระพุทธศาสนายุคดิจิทัล. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(4), 423-433.
พระครูโฆษิตสังฆทักษ์ (ประเวท ถาฐาน). กลยุทธ์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทยในสังคมปัจจุบัน. วารสารวิชาการธรรมบทรรศน์, 17(3), 211-223.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2543). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2540). ธรรมนูญชีวิต. กรุงเทพฯ: สำนักงาพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
พระมหาบุญทิน ปุญฺญธโช. (2562). กลยุทธ์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามหลักปฏิสัมภิทา 4 สำหรับพระธรรมทูตไทยในทวีปยุโรป. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6(6), 3154-3171.
พระมหาสมศักดิ์ กิจฺจสาโร (ชูชาติ). (2561). การสื่อสารและวิธีการเผยแผ่ธรรมของพระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม) (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยา.
วิเชียร วิทยอุดม. (2550). การพัฒนาองค์การ. กรุงเทพฯ: ธนวัช.
สมเด็จพระพุฒาจารย์เกี่ยว อุปเสณมหาเถร และคณะ. (2556). เย็นหิมะในรอยธรรม. กรุงเทพฯ: อนันตะ.
องอาจ เขียวงามดี และพระสุทธิสารเมธี. (2563). องคกรพุทธในประเทศไทย: มิติการเผยแผพระพุทธศาสนา. วารสารปรัชญาปริทรรศน์, 5(2), 47-60.
Bernard, C. J. (1961). The functions of the executive. Cambridge, MA: Harvard University Press.
Davis, K. (1977). Human Behavior at Work. New York: McGraw Hill.
HREX. (2562). ก้าวสู่การเป็นผู้นำที่ดี (Good Leadership) อย่างที่ทุกองค์กรต้องการ. ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2567, จาก https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/190605-leadership/
McFarland, D.E. and Dalton, E. M. (1979). Management: Foundation and Practices (5thed).New York: McMillan.
Northouse, P. G. (2018). Leadership: Theory and practice (8th ed.). Los Angeles, CA: Sage Publications.
Senge, P. M. (1990). The fifth discipline: The art & practice of the learning organization. New York: Doubleday.
Yukl, G. (1999). An evaluation of Conceptual Weakness in Transformational and Charismatic Leadership. The Leadership Quarterly, Upper Saddle River: Prentice Hall.