การใช้คำและสำนวนภาษาในพระราชนิพนธ์ “ไกลบ้าน” (Language Use in King Chulalongkorn's Klai Ban)

Main Article Content

นพรัฐ เสน่ห์

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งศึกษาการใช้คำและสำนวนภาษาที่เป็นร้อยแก้ว ในเชิงเปรียบเทียบระหว่างภาษาในพระราชนิพนธ์ “ไกลบ้าน” กับภาษาไทยปัจจุบัน ผลการศึกษาพบว่า การใช้คำและสำนวนภาษาในพระราชนิพนธ์ “ไกลบ้าน” มีลักษณะที่แตกต่างกับภาษาไทยปัจจุบันหลายด้าน ได้แก่ ด้านเสียง ด้านศัพท์ ด้านไวยากรณ์ และด้านความหมาย

This article is aims to compare the language used in King Chulalongkorn’s Klai Ban and Modern Thai. The language used in Klai Ban is different from that of Modern Thai in several aspects, reflecting the changes in sound, vocabulary, grammar and meaning.

Article Details

บท
Articles

References

กาญจนา ต้นโพธิ์. ๒๕๔๙. การใช้ภาษาเพื่อสื่อจินตภาพในนวนิยายของศรีบูรพา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. ๒๕๔๕. ไกลบ้าน เล่ม ๑. กรุงเทพฯ:

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. ๒๕๔๕. ไกลบ้าน เล่ม ๒. กรุงเทพฯ:

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. ๒๕๔๕. ไกลบ้าน เล่ม ๓. กรุงเทพฯ:

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด.

ดุษฎีพร ชำนิโรคศานต์. ๒๕๒๖. ภาษาศาสตร์เชิงประวัติและภาษาไทเปรียบเทียบ.

ม.ป.พ.

แดนบีช แบรดเลย์. ๒๕๑๔. อักขราภิธานศรับท์. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

ทวีศักดิ์ ญาณประทีป. ๒๕๒๑. วรรณกรรมพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ.

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

นววรรณ พันธุเมธา. ๒๕๕๒. ภาษาไทย น่าศึกษาหาคำตอบ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์

สกสค. ลาดพร้าว.

ปาเลอกัว, ชอง-บาตีสต์. ๒๕๔๒. สัพะ พะจะนะ พาสา ไท. กรุงเทพฯ: คุรุสภา

ลาดพร้าว.

ปาเลอกัว, ชอง-บาตีสต์. ๒๕๕๐. Grammatical Linguae Thai. กรุงเทพฯ:

สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประคอง นิมมานเหมินท์ และคณะ. ๒๕๕๒. บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม ๔. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์องค์การค้าของ สกสค.

ปราณี กุลละวณิชย์ และคณะ. ๒๕๔๐. ภาษาทัศนา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

ภาวิณี พนมวัน ณ อยุธยา. ๒๕๕๑. การศึกษาลักษณะภาษาโฆษณาในเขต

กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

มิ่งมิตร ศรีประสิทธิ์. ๒๕๔๖. การศึกษาเชิงประวัติของคำว่า แล้ว อยู่ อยู่แล้ว. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๔๖. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒.

กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่น.

วรรณพร พงษ์เพ็ง. ๒๕๔๗. ภาษาจินตภาพในเรื่องไกลบ้าน พระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจินตน์ ภาณุพงศ์. ๒๕๓๘. โครงสร้างของภาษาไทย: ระบบไวยากรณ์ไทย.

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วิชาการ, กรม. ๒๕๔๑. พจนานุกรม (ร.ศ. ๑๒๐). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

วินัย พงศ์ศรีเพียร และคณะ. ๒๕๕๕. พจนานุกรมคำเก่าในภาษาไทย ฉบับชะเลยสัก. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

วิภาส โพธิแพทย์. ๒๕๕๗. กระบวนการเกิดคำใหม่ในภาษาไทย. ภาษาและ

ภาษาศาสตร์, ๓๒ (๒), ๑-๒๔.

ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา. ๒๕๑๗. ศักดิ์ศรีวรรณกรรม. กรุงเทพฯ: โพธิ์สามต้นการพิมพ์.

อุปกิตศิลปสาร, พระยา. ๒๕๔๔. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.

Brinton, L. and Traugott, E. 2005. Lexicalization and Language Change. Cambridge: Cambridge University Press.