ความเป็นอิสระของผู้พิพากษา : ประสบการณ์จากสาธารณรัฐโปแลนด์

Main Article Content

ดร.สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์

บทคัดย่อ

                หลักอิสระตุลาการซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหลักนิติรัฐและเป็นหลักประกันการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษาที่ได้รับการยอมรับในทุกระบบกฎหมาย หลักการดังกล่าวประกอบไปด้วย หลักความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่และหลักความเป็นอิสระในทางส่วนตัวที่จะสร้างหลักประกันให้แก่ผู้พิพากษาว่าตนเองจะสามารถปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมายและจิตสำนึกของตน การมีแนวคิดในเรื่องของความคุ้มกันผู้พิพากษา ถือเป็นองค์ประกอบอีกส่วนหนึ่งที่จะมาเสริมความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวซึ่งระบบกฎหมายของสาธารณรัฐโปแลนด์ได้สร้างหลักประกันที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ไว้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญและพระธรรมนูญศาลยุติธรรม

Article Details

บท
บทความ

References

พจนา สะอาดเอี่ยม, ‘ความเป็นอิสระของตุลาการกรณีได้รับการแต่งตั้งโดยฝ่ายนิติบัญญัติ’ (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๒๕๕๙) ๒๕ - ๒๗. <http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2016/TU_2016_5601032302_6287_5175.pdf> สืบค้นเมื่อ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๕; เฮนนิ่ง เกรเซอร์, ‘การคุ้มครองและขอบเขตของอิสระตุลาการในนิติรัฐตามกฎหมายเยอรมัน’ (๒๕๖๒) ๗๕ บทบัณฑิตย์ ๑, ๑-๓๒; สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์, ‘ความเป็นอิสระของผู้พิพากษาตามมาตรา ๙๗ กฎหมายพื้นฐานเยอรมัน’ (๒๕๔๗) ๖๐ บทบัณฑิตย์ ๑๒๙, ๑๒๙-๑๔๐.

Karolina Majdzińska, ‘Die Gewaehrleistung der richterlichen Unabhaengigkeit in Polen’ (Conference Deutsch-Polnisch-Ukrainisches Seminar der SdDR und des Lehrstuhls für Verfassungsrecht der UJ Gewaltenteilung im Verfassungsstaat, Warsaw, October 2009) 3-19 <https://www.researchgate.net/publication/236164830_Die_Gewahrleistung_der_richterlichen_Unabhangigkeit_in_Polen>

Wolfgang Meyer, Grundgesetz-Kommentar Band 3 (Herausgegeben von Ingo von Muench, 2 Auflage, C.H. Beck, 1983) 576; เฮนนิ่ง เกรเซอร์ (เชิงอรรถ ๑) ๑.

บรรเจิด สิงคะเนติ, หลักกฎหมายมหาชน หลักนิติธรรม/นิติรัฐ (พิมพ์ครั้งที่ ๓, สำนักพิมพ์วิญญูชน ๒๕๖๔) ๑๐๓–๑๐๔.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๑๘๘ วรรคสอง บัญญัติว่า “ผู้พิพากษาและตุลาการย่อมมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย ให้เป็นไปโดยรวดเร็ว เป็นธรรม และปราศจากอคติทั้งปวง”

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๑๙๖ บัญญัติว่า “การบริหารงานบุคคลเกี่ยวกับผู้พิพากษาศาลยุติธรรมต้องมีความเป็นอิสระ และดำเนินการโดยคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม ซึ่งประกอบด้วยประธานศาลฎีกาเป็นประธาน และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นข้าราชการตุลาการในแต่ละชั้นศาล และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งไม่เป็นหรือเคยเป็นข้าราชการตุลาการ บรรดาที่ได้รับเลือกจากข้าราชการตุลาการไม่เกินสองคน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ”

Jeffrey M. Shaman, ‘Judicial Immunity from Civil and Criminal Liability’ (1990) 27(1) San Diego Law Review 1, 4 <https://digital.sandiego.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1378&context=sdlr> accessed 24 August 2022.

OBK Dingake, ‘Pesonal Independence and immunity of Judges in Botswana’ (no publication date) 4 < https://www.icj.org/wp-content/uploads/2012/06/Lesotho-independence-immunity-Dingake-event-2010.pdf.> accessed 24 August 2022.

Goda Ambrasaite Balyniene, ‘Comparative analysis on the High Councils for Judiciary in the EU member states and judicial immunity’ (2015) EU Project Pravo-Justice 24-25 <http://www.pravojustice.eu/storage/app/uploads/public/5ae/f8b/adb/5aef8badb2c7b574848064.pdf> accessed 24 August 2022.

Judges and lay magistrates who participate in court proceedings may not be held liable for an opinion or vote given in the process of judicial decision-making, unless the exist violation of law on a part of a judge which constitutes a criminal offence. A judge may not be remanded in custody or investigative detention with any criminal prosecution without a prior consent of a National Judicial Council.

Criminal charges may be brought against a judge during his or her term of office only on the proposal of the Supreme Court, and with the consent of the President of the Republic. Criminal charges may be brought against the Chief Justice and justices of the Supreme Court only on the proposal of the Chancellor of Justice, and with the consent of the majority of the membership of the Riigikogu (parliament).

If a judge is suspected of a criminal offence in the performance of judicial office, he may not be detained nor may criminal proceedings be initiated against him without the consent of the National Assembly.

Goda Ambrasaite Balyniene (n 9) 23-24.

Nothing is an offence which is done by a Judge when acting judicially in the exercise of any power which is, or which in good faith he believes to be, given to him by law.

No Judge or other person acting judicially shall be liable to be sued in any civil court for any act done or ordered to be done by him in the discharge of his judicial duty, whether or not within the limits of his jurisdiction, nor shall any order for costs be made against him, provided that he at the time in good faith believed himself to have jurisdiction to do or order the act complained of.

See Braatelien v. United States, 147 F.2d 888, 895 (8th Cir. 1945) cited in Marie Adornetto Monahan, The Problem of “The Judge who makes the case his own”: Notions of Judicial Immunity and Judicial Liability in ancient Rome’ (2000) 49(2) Catholic University Law Review 429, 437 footnote 57.

Jeffrey M. Shaman (n 7) 18.

Marie Adornetto Monahan (n 16) 431.