วิวัฒนาการกฎหมายอาญาของประเทศไทยกับอิทธิพลจากคัมภีร์พระธรรมศาสตร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
ระบบกฎหมายอาญาของประเทศไทยมีวิวัฒนาการที่สืบเนื่องมาอย่างยาวนานจากอดีตจนถึงปัจุบัน โดยแรกเริ่มนั้นประเทศไทยยังไม่ได้มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษรแต่ใช้จารีตประเพณีซึ่งมาจากขนบธรรมเนียมประเพณีของไทยแต่โบราณเป็นข้อบังคับความประพฤติของคนในสังคม ต่อมาในยุคสมัยสุโขทัยเริ่มปรากฏหลักฐานการมีกฎหมายลายลักษณ์อักษร จนกระทั่งในยุคสมัยกรุงศรีอยุธยากฎหมายลายลักษณ์อักษรได้รับการพัฒนาโดยได้รับอิทธิพลสำคัญมาจากคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ผ่านการคัดสรรเพื่อให้เหมาะสมกับธรรมเนียมปฏิบัติและวัฒนธรรมของสังคมไทย และได้รับการพัฒนาเรื่อยมาจนมีการใช้กฎหมายตราสามดวง กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 และประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ฉบับปัจจุบัน ซึ่งการพัฒนากฎหมายนั้นเป็นไปเพื่อให้สอดคล้องกับบริบททางสังคม การเมือง การปกครอง และสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปประกอบกับอิทธิพลจากต่างประเทศอันส่งผลให้มีการบัญญัติระบบกฎหมายให้ทันสมัยมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระบวนพิจารณาหรือไต่สวนตามหลักความรับผิดในทางอาญาและการพิจารณาบทลงโทษเพื่อพิจารณาคุณหรือโทษแก่บุคคลใดอย่างรอบคอบถี่ถ้วน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ภาษาไทย
กลุ่มวิชาการทำหน้าที่กัลยาณมิตร, ‘ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คัมภีร์ในศาสนา’ (กัลยาณมิตร, 23 มิถุนายน 2559) <https://kalyanamitra.org/th/article_detail.php?i=12509> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
คทาวุธ คเวสกธมฺโม, พระใบฏีกา (เพ็งที), ‘บทวิเคราะห์แนวคิดพหุนิยมกฎหมายของเมอรี่ มุมมองจากรากฐานทางพุทธศาสนากับสังคมวิทยาของประเทศไทย The analysis on the idea of Legal pluralism of Merry - The aspect from the roots of the Buddhism and sociology of Thailand’ (2563) 2 วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น 189 <https://so04.tci-thaijo.org/index.php/llsj/article/download/244446/168713/870301> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
ชมชื่น มัณยารมย์, ‘บทที่ 2 วิวัฒนาการของกฎหมาย’ (มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2542) <https://law.dpu.ac.th/upload/content/files/2.doc> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
ดิเรก อุทรทวิการ ณ อยุธยา, ‘“พระธรรมสาตร” กับความเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ทางกฎหมายของชนชั้นนำไทย’ (2557) วารสารประวัติศาสตร์ 72 <https://ejournals.swu.ac.th/index.php/JOH/article/download/4691/4517/15201> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
เดือน คำดี, ‘พระเวทในสายตาแห่งพุทธปรัชญา’ (2559) 2 วารสารราชบัณฑิตยสภา 41 <https://www.orst.go.th/FILEROOM/CABROYINWEB/DRAWER004/GENERAL/DATA0000/00000613.FLP/html/78/#zoom=z> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
ปรามินทร์ เครือทอง, ‘บทลงโทษสุดโหด ในกฎหมายตราสามดวง ที่ความตายเรียก “พี่”’ (silpa-mag, 7 กุมภาพันธ์ 2565) <https://www.silpa-mag.com/history/article_34958> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
ปิยฉัตร บุนนาค, สิริวรรณ นันทจันทูล และสุรีย์รัตน์ บำรุงสุข, ‘การสูญศัพท์ การเพิ่มศัพท์ และการเปลี่ยนแปลงทางความหมายของศัพท์ที่เป็นโทษทางอาญาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (Loss of Vocabularies, Adding Vocabularies and Meaning Change of Criminal Punishment Vocabularies in Rattanakosin Period)’ (2561) 3 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 436 <https://so04.tci-thaijo.org/index.php/yru_human/article/download/152119/111080/410763> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
พงษ์ธร ธัญญสิริ, ‘ย้อนดูอดีต เพื่อก้าวสู่อนาคต กฎหมายอาญาไทย’ (2552) 2 วารสารกระบวนการยุติธรรม 133 <https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JTJS/article/download/245569/166798/854543> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
มานพ ถาวรวัฒน์สกุล, ‘การกำหนดอายุกฎหมายอยุธยาในกฎหมายตราสามดวง: บทวิเคราะห์เบื้องต้น’ (2543) 2 วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 171 <https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jasu/article/download/250294/169912/> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
วรภักดิ์พิบูลย์, พระ คำบรรยายประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (โรงพิมพ์วิบูลกิจ, 2496).
ศรัณย์ จิระพงษ์สุวรรณ, ‘การรัฐประหารกับ “องค์อธิปัตย์” ในสังคมการเมืองไทย Coup d’Etat in Thai politics’ (2560) 2 วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี306 <https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jla_ubu/article/download/242581/164542/> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
ศูนย์ข้อมูลกฎหมายกลาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, ‘200 ปี กฎหมายตราสามดวง’ (สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, มปป) <http://web.krisdika.go.th/pdfPage.jsp?type=act&actCode=40> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
สุเมฆ จีรชัยสิริ, ‘กฎหมายตราสามดวง’ (พิพิธภัณฑ์รัฐสภา, 1 สิงหาคม 2563) <https://parliamentmuseum.go.th/ar63-Law-enact.html> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
ภาษาต่างประเทศ
A.S. Narayana Deekshitulu vs State Of Andhra Pradesh & Ors, 1996 AIR 1765, JT 1996 (3) 482.
The Editors of Encyclopaedia Britannica, ‘Dharma-shastra Hinduism’ (Encyclopaedia Britannica, 28 October 2018) <https://www.britannica.com/topic/Dharma-shastra> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
M Rama Jois, Dharma The Global Ethic (Unknown Southasian Publishing, 1996) <https://www.vhp-america.org/wp-content/uploads/2018/09/DHARMA_Ram_Jois.pdf> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
Madhulika Chebrol, ‘Dharma and Its Application in Ancient India’ (2022) <https://www.researchgate.net/publication/343510657_Dharma_and_its_Application_in_Ancient_India_Madhulika_Chebrol_Dharma_and_its_Application_in_Ancient_India> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
Manu-Smriti – The Code of Manu’ (GlobalSecurity, no publication date) <https://www.globalsecurity.org/military/world/india/manu-smriti.htm> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
Mark McClish, ‘From Law to Dharma: State Law and Sacred Duty in Ancient India’ (2019) 3 Journal of Law and Religion 284 <https://www.cambridge.org/core/journals/journal-of-law-and-religion/article/abs/from-law-to-dharma-state-law-and-sacred-duty-in-ancient-india/49D3C15A4CA35DBE7DD887079D37C065> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.
Mukund Sarda and Basim Akhtar, ‘Concept of Dharma, Justice, and Law: A Study’ (2017) 1 Bharati Law Review 179 <http://docs.manupatra.in/newsline/articles/Upload/50B727EC-6404-4C35-BB26-F6169BF31862.pdf> สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565.