กรอบการพิพากษาเพิ่มเติมโทษจำเลยของศาลสูง : มุมมองจากประเทศสหรัฐอเมริกา

Main Article Content

สิตานันท์ ศรีวรกร

บทคัดย่อ

       ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 212 บัญญัติว่า “คดีที่จำเลยอุทธรณ์คำพิพากษาที่ให้ลงโทษ ห้ามมิให้ศาลอุทธรณ์พิพากษาเพิ่มเติมโทษจำเลย เว้นแต่โจทก์จะได้อุทธรณ์ในทำนองนั้น” เป็นบทบัญญัติที่มุ่งคุ้มครองจำเลยไม่ให้ต้องรับโทษหนักขึ้นถ้าโจทก์ไม่ได้อุทธรณ์ขอให้เพิ่มเติมโทษจำเลย อย่างไรก็ดี การแปลความบทบัญญัติดังกล่าวในบริบทของกระบวนพิจารณาคดีอาญาในประเทศไทยเป็นไปตามแนวคำพิพากษาศาลฎีกา ซึ่งในบางกรณีแม้โจทก์ไม่ได้บรรยายฟ้อง เช่น การบวกโทษที่รอ หรือแม้โจทก์ไม่ได้กล่าวมาในอุทธรณ์หรือฎีกา เช่น การนับโทษต่อ หากศาลชั้นต้นพิพากษาโดยผิดหลงและความปรากฏต่อศาลสูง ศาลสูงก็สามารถแก้ไขให้ถูกต้องได้โดยไม่เป็นการเพิ่มเติมโทษจำเลย ในบทความนี้ ผู้เขียนจึงขอจะกล่าวถึงกรอบการพิพากษาเพิ่มเติมโทษจำเลยของศาลสูงในประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อนำมาเทียบเคียงกับกรณีคำวินิจฉัยของศาลไทย

Article Details

บท
บทความทางวิชาการ

References

ภาษาไทย

กรองทิพย์ คำยะรัตน์, ‘สิทธิที่จะได้รับความช่วยเหลือในทางคดีอาญาจากทนายความ : ศึกษาปัญหาระบบทนายความขอแรงและการใช้ระบบ Public Defender’ (2558) 2 ดุลพาห 168, 168-199 <https://dunlaphaha.coj.go.th/upload/2558/2/2558_2_a8.pdf> สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2567.

คณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล, ‘คู่มือสังเกตการณ์กระบวนการยุติธรรมทางอาญา แนวทางเพื่อการปฏิบัติ ลำดับที่ 5’ (ICJ, 2554) <https://www.icj.org/wp-content/uploads/2015/06/trial-observation-manual-Human-Rights-Rule-of-Law-series-2009-thai.pdf> สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2567.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2651/2517 (ประชุมใหญ่).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3656/2527.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 147/2538.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5129/2538.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 822/2540.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3741/2540.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6397/2540.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1020/2541.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 571/2542.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 714/2542.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8682/2543.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1081/2544.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1983/2544.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1715/2545.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6247/2545.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2114/2547.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2115/2547.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2226/2547.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6712/2547.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7586/2547.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2695/2548.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3366/2548.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4534/2548.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6121/2548.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6855/2550.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 398/2551.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1439/2551.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 263/2553.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6368/2557.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4790/2562

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1346/2563.

วิเชียร ดิเรกอุดมศักดิ์, กฎหมาย วิ.อาญาพิสดาร เล่ม 2 (ฉบับปรับปรุงใหม่ ปี 2566) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หลักกฎหมายและแนวคำพิพากษาศาลฎีกา ตาม ป.วิ.อ. ภาค 3 และ ภาค 4 (หจก. แสงจันทร์การพิมพ์ 2565) 405.

สำนักการต่างประเทศ สำนักงานศาลยุติธรรม, ‘รอบรู้ศาลยุติธรรม ตอน การดำเนินคดีอาญา Getting to Know the Court of Justice: The Criminal Procedure’ (COJ, สิงหาคม 2559) <https://oia.coj.go.th/th/content/category/detail/id/8/cid/11205/iid/275227> สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2567.

วิสาร พันธุนะ, ‘วิธีพิจารณาความอาญาในสหรัฐอเมริกา’ (2521) 5 ดุลพาห 39.

ภาษาอังกฤษ

Alabama v. Shelton, 535 U.S. 654, 662, 122 S.Ct. 1764, 152 L.Ed.2d 888 (2002).

Deal v. United States, 508 U.S. 129, 113 S. Ct. 1993, 124 L. Ed. 2d 44 (1993).

Greenlaw v. United States, 554 U.S. 237, 128 S. Ct. 2559, 171 L. Ed. 2d 399 (2008).

Pepper v. United States, 562 U.S. 476, 131 S. Ct. 1229, 179 L. Ed. 2d 196 (2011).

United States Federal Rules of Criminal Procedure.

United States Crimes and Criminal Procedure (18 United States Code Annotated (U.S.C.A.)).

United States Supreme Court Actions 01-18-2008 U.S. Sup. Ct. Actions 13.

United States v. Aquart, 92 F.4th 77 (2d Cir. 2024).

United States v. Gajdik, 292 F.3d 555, 557 (7th Cir. 2002)

United States v. Henry, 1 F.4th 1315 (11th Cir. 2021).

United States v. Perez–Macias, 335 F.3d 421, 426 (5th Cir.2003).

United States v. Stuart, 1 F.4th 326 (4th Cir. 2021).