การวิเคราะห์โครงสร้างปริจเฉทการสนทนาและหน่วยความหมายของวัจนกรรมขอร้องในสถานการณ์การขอยืมเงิน : การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างชาวญี่ปุ่น ชาวไทย และผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย

Main Article Content

ธนิส พูนวงศ์ประเสริฐ

บทคัดย่อ

การขอร้องเป็นวัจนกรรมคุกคามหน้าเชิงลบ ซึ่งอาจทำให้เกิดความเข้าใจผิดในการสื่อสารต่างวัฒนธรรม งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบโครงสร้างปริจเฉทการสนทนาและหน่วยความหมายของวัจนกรรม ขอร้อง ดำเนินการเก็บข้อมูลจากคลังข้อมูลภาษาโดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ ชาวญี่ปุ่น (JJ) ชาวไทย (TT) และผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย (TJL) กลุ่มละ 20 คู่ ผลการศึกษาพบว่า (1) โครงสร้างปริจเฉทการสนทนาส่วนที่จำเป็นมี 3 ส่วนคือ <ส่วนเปิดบทสนทนา><ส่วนขอร้อง><ส่วนปิดบทสนทนา> (2) ใน<ส่วนเปิดบทสนทนา> กลุ่ม JJ ใช้หน่วยความหมาย [ขอโทษ] ส่วนกลุ่ม TT และ TJL ใช้หน่วยความหมาย [ทักทาย] ในความถี่สูง การเรียงลำดับหน่วยความหมายของกลุ่ม JJ และ TJL เริ่มจาก [เรียกขาน] ส่วนกลุ่ม TT จะเริ่มจาก [เรียกขาน] หรือ [ทักทาย]แล้วต่อท้ายด้วยหน่วยความหมายอื่น (3) ใน<ส่วนขอร้อง>กลุ่ม JJ มีแนวโน้มสูงที่จะใช้หน่วยความหมาย[ขอร้องอีกครั้ง]และ[ยื่นเงื่อนไข] ซึ่งเป็นลักษณะการใช้ที่ปรากฏความถี่น้อยในกลุ่ม TT และ TJL        เมื่อวิเคราะห์รูปแบบการเรียงลำดับหน่วยความหมาย พบว่ากลุ่ม JJ มีรูปแบบการเรียงที่ซับซ้อนและมีความหลากหลาย     ตรงข้ามกับกลุ่ม TT และ TJL ที่มีรูปแบบการเรียงลำดับที่ไม่ซับซ้อนและมีจำนวนรูปแบบน้อยกว่า (4) ใน<ส่วนปิดบทสนทนา> กลุ่ม JJ ใช้หน่วยความหมาย[ขอโทษ][กระชับความสัมพันธ์][สัญญา][ทักทาย] มากกว่ากลุ่ม TT และ TJL อย่างเห็นได้ชัด การเรียงลำดับหน่วยความหมายของกลุ่ม JJ เริ่มจาก[ขอบคุณ]แล้วต่อท้ายด้วยหน่วยความหมายอื่น ส่วนกลุ่ม TT และ TJL ปรากฏเฉพาะหน่วยความหมาย[ขอบคุณ]เท่านั้น ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงลักษณะการใช้วัจนกรรมของชาวญี่ปุ่น    ชาวไทย และอันตรภาษาของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ธวัช คำทองทิพย์. (2561). การชมในเฟซบุ๊กของชาวญี่ปุ่น. วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ฉบับพิเศษ, 8(3), 131-144.

อาภาภรณ์ เดชวิจารณ์กิจ. (2547). การศึกษาเปรียบต่างกลวิธีการขอร้องในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Beebe, L. M., Takahashi, T. & Uliss-Weltz, R. (1990). Pragmatic Transfer in ESL Refusals. In R.

Scarcella, E. Anderson, & S. Krashen (Eds.). Developing Communicative Competence in a Second Language (pp. 55-73). Cambridge, MA: Newbury House.

Brown, P. & Levinson, S. C. (1987). Politeness: Some universals in language usage. Cambridge: Cambridge University Press.

Selinker, L. (1972). Interlanguage. International Review of Applied Linguistics in Language Teaching, 10(3), 209-232.

アクドーアン,プナル・大浜るい子(2008).「日本人学生とトルコ人学生の依頼行動の分析―相手配慮の視点から―」『世界の日本語教育』18, 57-72.

ウィッタヤーパンヤーノン, スニサー(2006).「日本人とタイ人の「依頼」、「勧誘」行為について-対人関係を維持する方略を中心に-」『三田國文』43, 15-34.

猪崎保子(2000).「接触場面における「依頼」のストラテジー―日本人とフランス人日本語学習者の場合―」『世界の日本語教育』10, 129-145.

宇佐美洋(2002).「「対訳作文データベース」と日本語教育―対照言語学を教育に生かすために」国立国語研究所(編),日本語と外国語との対照研究 X『対照研究と日本語教育』(81-94). 東京:国立国語研究所.

蒲谷宏・川口義一・坂本恵(1993) .「依頼表現方略の分析と記述:―待遇表現教育への応用に向けて―」『早稲田大学日本語研究教育センター紀要』5, 52-69.

キィ, ティダー(2004).「依頼しにくい場合の「依頼表現」」『早稲田大学日本語研究教育センター紀要』17, 71-92.

牛晶 (2021).「依頼発話における中国人日本語学習者の前置き表現の使用実態―日本語母語話者と比較して―」『ことば』7, 233-250.

グエン, ティニューイー(2014).「依頼会話に関する日・越対照研究―談話構造を中心として―」大阪大学大学院言語文化研究科修士論文.

グエン, ティニューイー(2017).「依頼会話における《雑談部》の展開ストラテジー―ベトナム語と日本語の対照研究の観点から-」『日本語/日本語教育研究』8, 199-214.

串田秀也・平本毅・林誠(2017). 『会話分析入門』東京:勁草書房.

熊谷智子(1998).「依頼の言語行動におけるストラテジーの展開構造」『国立国語研究所創立50周年記念 研究発表会資料集: 歩こう日本語の世界を』111-116.

国際交流基金(2017).『JF日本語教育スタンダード【新版】利用者のためのガイドブック』東京:国際交流基金.

小林美恵子(2002).「談話における「呼びかけ」の意味」『ことば』23, 13-24.

サクンクルー, カンスィニー(2018).「LINE会話における依頼の談話展開―日タイ母語場面に着目して―」『人間文化創成科学論叢』21, 63-71.

施信余(2006).「日本語における『依頼・断り』のコミュニケーションについて―日本人女子大学生同士の電話会話を分析対象に―」『早稲田大学日本語教育研究』8, 51-62.

徐孟鈴(2006).「依頼会話の【終結部】の考察-日本人・台湾人・台湾人上級学習者の接触場面のロールプレイデータを比較して-」『言葉と文化』7, 67-84.

徐孟鈴(2007).「依頼会話【先行部】の考察-日本語母語場面・台湾人母語場面・日台接触場面のロールプレイデータを比較して-」『言葉と文化』8, 219-237.

張熲(2002).「依頼会話の展開パターンに関する日中対照研究」『言語文化と日本語教育』28, 8-14.

陳靜芬(2013). 「日本と台湾における依頼・承諾・拒絶の行動と発話─金銭を借用する場面を中心に─」広島大学大学院国際協力研究科博士論文.

槌田和美 (2003).「日本人学生と韓国人留学生における依頼の談話ストラテジー使い分けの分析―語用論的ポライトネスの側面から―」『小出記念日本語教育研究会論文集』11, 41-54.

筒井佐代 (2012).『談話の構造分析』東京:くろしお出版.

畑中香乃(2012).「日本語と中国語の依頼談話における「依頼開始」ストラテジーの考察 : サービス・エンカウンター場面に焦点を当てて」『ニバタ』41, 41-50.

プーンウォンプラサート, タニット(2019).「手伝うことの依頼に対する断りの日タイ対照研究—親疎関係・上下関係・依頼の負担度による意味公式の選択に関する分析—」大阪大学言語文化研究科博士論文.

本間美穗撰(2016). 「台湾人日本語学習者の文書による依頼行動の研究―日台の大学生との比較を通して―」東呉大学日本語文学系博士論文.

ヤズィード, ナーセル(2021).「日本語とアラビア語の母語場面における依頼会話-金銭及び時間の負担度による違い-」社会言語科学会 第45回大会発表論文集.

山岡政紀 (2008).『発話機能論』東京:くろしお出版.

山岡政紀・牧原功・小野正樹 (2012).『コミュニケーションと配偶表現―日本語語用論入門―』東京:明治書院.

楊雪丹(2008).「パソコンメールに見られる依頼の中日対照」桜美林大学大学院国際学研究科修士論文.

李佳盈(2004).「電子メールにおける依頼行動一依頼行動の展開と依頼ストラテジーの台日対照研究一」第28回 日本言語文化学研究会 発表要旨.

季善子(2002).「中国語と日本語における談話の構造分析」『比較社会文化研究』12, 101-107.

和田由里恵・堀江薫・北原良夫・吉本啓(2008).「日本語学習者の依頼におけるポライトネスストラテジー―日本語学習者の母語と日本語の比較―」『東北大学高等教育開発センター紀要』3, 293-300.