การสร้างสื่อสำหรับฝึกทักษะการอ่านโน้ตเปียโน แบบฉับพลันด้วยอีเลิร์นนิ่ง
บทคัดย่อ
การศึกษาเรื่อง “การสร้างสื่อสำหรับฝึกทักษะการอ่านโน้ตเปียโนแบบฉับพลันด้วยอีเลิร์นนิ่ง”
มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสื่อสำหรับฝึกทักษะการอ่านโน้ตเปียโนแบบฉับพลันด้วยอีเลิร์นนิ่งและเพื่อหา
ประสิทธิภาพของสื่อสำหรับฝึกทักษะการอ่านโน้ตเปียโนแบบฉับพลันด้วยอีเลิร์นนิ่งที่สร้างขึ้น
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ได้แก่นักเรียนวิชาเปียโนที่กำลัง
เรียนเทียบเท่าเกรด 2 ของ Trinity Guildhall อายุไม่เกิน 14 ปี เคยเรียนเปียโนมาแล้วไม่เกิน 3 ปี
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบฝึกทักษะการอ่านโน้ตเปียโนแบบฉับพลันในรูปแบบหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ชื่อ Melody Hunter ซึ่งรวบรวมเกมสำหรับฝึกทักษะการอ่านโน้ตเปียโนแบบฉับพลัน
ประกอบด้วย 5 หมวด ได้แก่ การอ่านโน้ต การอ่านจังหวะ การหาตำแหน่งวางมือ การวิเคราะห์เพลง และ
แบบฝึกเล่นเพลง 2 มือพร้อมกัน (2) คู่มือการใช้สื่อสำหรับฝึกทักษะการอ่านโน้ตเปียโนแบบฉับพลันด้วย
อีเลิร์นนิ่ง สำหรับครูและนักเรียน (3) แบบบันทึกความก้าวหน้าการใช้สื่อสำหรับฝึกทักษะการอ่าน
โน้ตเปียโนแบบฉับพลันด้วย อีเลิร์นนิ่งและ (4) คู่มือการวัดผลสำหรับกรรมการผู้คุมสอบ
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความสนใจในสื่อสำหรับฝึกทักษะการอ่านโน้ตเปียโนแบบฉับพลัน
ด้วยอีเลิร์นนิ่งโดยวัดจากแบบทดสอบระหว่างเรียนมีค่าเฉลี่ย ร้อยละ 87.07 ส่วนในการสอบวัดผลหลังเรียน
โดยคณะกรรมการมีค่าเฉลี่ย ร้อยละ 83.28 โดยมีคะแนนสูงสุดร้อยละ 92 และคะแนนต่ำสุดร้อยละ 66
ซึ่งทุกคนสามารถสอบผ่าน ร้อยละ 60 ตามเกณฑ์ ที่กำหนดไว้
References
อรุณการพิมพ์.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2554). การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรืออี-เลิร์นนิ่ง (e-learning).
ค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2554. จาก http://www.eschool.su.ac.th/admin/articleadm.php?no=2&
code=y.
จุฑารัตน์ มณีวัลย์. (2551). “การสอนโสตทักษะด้านทำนอง ในหลักสูตรเปียโนระดับต้นของสำนักพิมพ์
อัลเฟรด กรณีศึกษา โรงเรียนดนตรีปิ่นนคร.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
จุฑารัตน์ วันทะวงษ์. (2554). บทที่ 3 สื่อการเรียนการสอน. ค้นวันที่ 30 กรกฎาคม. จาก http://
5211013907.multiply.com/links/item/24.
ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์. (2554). การวัดผลและประเมินผล : ความหมายและประเภท. ค้นวันที่
30 กรกฎาคม. จาก www.ranong2.dusit.ac.th/KM&R/measurement.doc.
ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2541). จิตวิทยาการสอนดนตรี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดนัย ม่วงแก้ว. (2548). “ผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยการ์ตูนแอนิเมชั่นวิชาดนตรี
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ดำริ บรรณวิทยกิจ. (2545). “แนวการสอนดนตรีปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ.” ใน ณรุทธ์ สุทธจิตต์
(บรรณาธิการ). สาระดนตรี. (57-72). กรุงเทพ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2554). ความหมายของ e-Learning. ค้นวันที่ 30 กรกฎาคม. จาก http://
www.kroobannok.com/1586.
ธวัช อัศวเดชาฤทธิ์. (2553). “การศึกษาพฤติกรรมที่ส่งผลต่อการเรียนวิชาเปียโนระดับสูงให้ประสบ
ความสำเร็จ.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยพายัพ.
ปัทมพร วีรัตนเกษม. (2552). “การสร้างชุดการสอนดนตรีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2.”
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยพายัพ.
ปรีชา ดีนาง. (2554). Instructional Technology & Communication. ค้นวันที่ 30 กรกฎาคม.
จาก www.krunuippk.ob.tc/page/page2.html.
ไพฑูรย์ มะณู. (2554). ความหมายของสื่อการสอน. ค้นวันที่ 30 กรกฎาคม. จาก http://www.
gotoknow.org/blog/paitoon/231415.
ภูมินทร์ วงพรหม. (2549). “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียวิชาดนตรีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.”
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ภิรมณ์ วัชรินทรางกูร. (2549). “บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องเครื่องดนตรีไทยในระดับ
ชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 6.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
__________(2554). รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกาเย่. ค้นวันที่ 14 สิงหาคม. จาก
http://pirun.ku.ac.th/~g521460090/files/ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่.doc
วิชญลักก์ ปัทมพงศ์. (2554). “การศึกษาการสอนวิชาเปียโนป๊อปที่สถาบันดนตรีเคพีเอ็นสาขา
เดอะมอลล์งามวงศ์วาน.” ในสมาคมครูดนตรีประเทศไทย วิทยาลัยดุริยศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
และกระทรวงศึกษาธิการ (บรรณาธิการ). ทิศทางดนตรีในศตวรรษหน้า. (125-138). กรุงเทพฯ.
วิวรรธน์ จันทร์เทพย์. (2554). บทที่ 1 ความหมาย ประเภทและประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน.
ค้นวันที่ 30 กรกฎาคม. จาก http://kichu1987-11.blogspot.com.
สุชาติ สิมมี. (2554). “การพัฒนาการสอนวิชาทฤษฎีดนตรีสากลด้วยอีเลิร์นนิ่งสำหรับหลักสูตร
วิชาชีพระยะสั้น สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา.” ใน สมาคมครูดนตรีประเทศไทย วิทยาลัย
ดุริยศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกระทรวงศึกษาธิการ (บรรณาธิการ). ทิศทางดนตรีในศตวรรษหน้า.
(1-6). กรุงเทพฯ.
อัญชนา สุตมาตร. (2546). “การศึกษาหลักสูตรการกระบวนการศึกษาดนตรีสำหรับเด็กปฐมวัยของ
สถาบันจินตการดนตรี สถาบันดนตรีมีฟ้า และสถาบันดนตรีเคพีเอ็น.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหิดล.
อรนุชา อัฏฏวัชระ. (2545). “การสอนขลุ่ยรีคอร์เดอร์ด้วยวิธีการผสมผสานการอ่านโน้ตกับการร้องโน้ต
ขั้นพื้นฐาน.” ใน ณรุทธ์ สุทธจิตต์ (บรรณาธิการ). สาระดนตรี. (41-56). กรุงเทพ : โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรวรรณ บรรจงศิลป. (ม.ป.ป.). การสอนดนตรีในระดับประถมศึกษา ทฤษฎีและปฏิบัติ. (ม.ท.ป.).
__________. (2545). “ทำไมต้องแนะนำดนตรีเอเชียในระดับประถมศึกษา.” ใน ณรุทธ์ สุทธจิตต์
(บรรณาธิการ). สาระดนตรี. (41-56). กรุงเทพ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.