วิเคราะห์การใช้ภาพพจน์เพื่อถ่ายทอดพุทธธรรมคำสอนด้านการเจริญพระกรรมฐาน ของพระราชพรหมยาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์วิเคราะห์ภาพพจน์ในพุทธธรรมคำสอนด้านการเจริญพระกรรมฐานของพระราชพรหมยาน หรือ หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ วัดท่าซุง จังหวัดอุทัยธานี ผลการศึกษาพบว่าในพุทธธรรมคำสอนมีการใช้ภาพพจน์ที่โดดเด่น 5 ประเภท โดยภาพพจน์ที่พบมากที่สุด คือ ภาพพจน์ประเภทอุปมา สมมุติภาวะ การอ้างถึง บุคลาธิษฐาน และอุปลักษณ์ ทั้งนี้ การใช้ภาพพจน์ทั้ง 5 ประเภท เป็นเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจด้านการเจริญพระกรรมฐาน ทั้งด้านวิปัสสนากรรมฐานและสมถกรรมฐานได้เป็นอย่างดี
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมังรายสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารมังรายสาร ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมังรายสาร หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารมังรายสารก่อนเท่านั้น
References
สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา. (2549). เจิมจันทน์กังสดาล : ภาษาวรรณศิลป์ในวรรณคดีไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สว่าง ไชยสงค์. (2538). การศึกษาภาพพจน์ในวรรณคดีพระปฐมสมโพธิกถา. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คพับลิเคชั่นส์.
สุชีพ ปุญญานุภาพ (2539). พระไตรปิฎกส าหรับประชาชน(พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพมหานคร: มหามกุฎ ราชวิทยาลัย.
พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์. (2552). ความเปรียบในวรรณกรรมแปบพงศาวดารจีน. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.