หลักธรรมาภิบาลชาวไทยกูย : วัดบ้านตะเคียน ตำบลสำโรงทาบ อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ Kui people’s Good Governance : Wat Takian, Samrong Tap Sub-district Surin Province

Main Article Content

กฤษนันท์ แสงมาศ

Abstract

                   ธรรมาภิบาลชาวไทยกูยวัดบ้านตะเคียนที่นำมาประกาศใช้ก็เพื่อให้ผู้ที่เข้ามาเที่ยวชมงานประจำปีภายในวัดได้นำมาปฏิบัติเป็นการป้องปรามเป็นเบื้องต้นและป้องกันเหตุร้ายเป็นการรักษาความสงบที่จะก่อให้เกิดความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินและมีผลกระทบต่อการจัดงานทำให้ไม่สามารถดำเนินงานต่อไปเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์เป็นผลสำเร็จได้ การแสดงเจตนารมณ์ดังกล่าวก็เพื่อให้ผู้ที่เดินทางจากหมู่บ้านต่างๆ มาเที่ยวชมงานประจำปีภายในวัดมีความมั่นใจในความปลอดภัยว่าจะไม่มีเหตุร้ายที่จะมาทำลายบรรยากาศเทศกาลของงานประจำปีของวัดได้เจตนารมณ์ที่ประกาศภายในวัดเหมือนกับหลักของศีลเพราะศีลแปลว่าความสงบเย็นหรือความเป็นปกติของชีวิตและสังคมตั้งแต่เรื่องของการไม่มุ่งร้าย เบียดเบียน ทำร้ายทะเลาะเบาะแว้งกัน การไม่ลักทรัพย์ การไม่พกพาอาวุธ ไม่อนุญาตให้นำสุรายาดองของมันเมาเข้ามาจำหน่ายภายในวัดผู้ใดหรือใครฝ่าฝืนต้องถูกลงโทษนำไปดำเนินคดีตามกฎหมายและปรับตามกฎที่ประกาศโดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้นเป็นการแสดงเจตนารมณ์ชัดเจนในการป้องกัน ป้องปรามเพื่อรักษาไว้ซึ่งชีวิตและทรัพย์สินความสุขและความสงบของชุมชนและผู้มาเที่ยวงานประจำปีของชาวไทยกูยวัดบ้านตะเคียน


                  


                   Kui’s Ta-kian’s Good governance in Wat Takian, Samrong Tap Sub-district Surin Province. The attention of Kui’s Ta-kian’s Good governance same as The Five Precepts is the Buddhist practices to become more self-discipline, the Precepts is a way to gain mastery of the mind. The idea to avoid harmful ways of behaving and speaking such as to abstain from taking life of living beings, to abstain from stealing, to abstain from sexual misconduct, to abstain from telling lies, to abstain from intoxicants or harmful substances or alcohol is the single most important precept because it ensures the reliability all the other and alcohol and drugs dull the mind. The objectives of the Kui’s Ta-kian’s Good governance is guaranteed


about the safety When visitors come to see annual festival in Kui Ta-kian temple and it is a clear intention to protect the life, peace, happiness and properties of visitors who come to visit an annual festival in the temple. It is a way to make a peace of the community.

Article Details

Section
บทความวิชาการ

References

คุณญา แก้วทันคำ. (2556). การประยุกต์หลักอริยสัจ 4 ในผู่ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายกรณีที่ควบคุมความ
ดันโลหิตไม่ได้โรงพยาบาลแพร่. (รวมบทความวิทยานิพนธ์ระดับพุทธศาสตร์มหาบัณฑิตและพุทธศาสตร์
ดุษฎีบัณฑิต). สัมมนาวิชาการ“ผลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์”ประจำการศึกษา 2556, กรุงเทพมหานคร: บริษัท 21
เซ็นจูรี่ จำกัด.
เจริญพงษ์ วิญญูรักษ์. (2556). ธรรมาภิบาลเพื่อการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี. วารสาร
เพิ่มผลผลิต.
ตุลา มหาพสุธานนท์. (2547). หลักการจัดการหลักการบริหาร (Principle of Management). พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพมหานคร: เพิ่มทรัพย์การพิมพ์.
ทิพาวดี เมฆสวรรค์. (2544). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย
รามคำแหง.
นพวรรณ สิริเวชกุล. (2541). ข้อมูลและพัฒนาการทางสังคมการปรับตัวต่อปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับการดิ้นรน
เพื่อมีชีวิตอยู่และการผลิตของชาวกูยที่บ้านตากลางอำเภอท่าตูมจังหวัดสุรินทร์. (วิทยานิพนธ์ศิลป
ศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ปัญญา เลิศไกร, ลัญจกร นิลกาญจน์. (2559, กรกฎาคม–ธันวาคม). การเก็บข้อมูลวิจัยชุมชนภาคสนาม.
วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 8(2).
ประมวล รุจน์เสรี. (2557). หลักปรองดองที่ดีกับสภาวะแวดล้อมของระบบควบคุมภายใน.วารสารนักบริหาร.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2543). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 9.
กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2538). พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย.
พระมหาเทพรัตน์ อริยว์โส, ลัญจกร นิลกาญจน์. (2559, กรกฎาคม–ธันวาคม). รูปแบบการจัด
กิจกรรมบูรณาการเพื่อการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม วัดพรหมโลก อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 8(2).
พระมหาประสพสุข ปิยภาณี(สุขล้วน). (2554). ประสิทธิภาพการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของการ
บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลเทพรักษา อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธ
ศาสตร์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาสมพงษ์ ชนุตฺตโม (อ่อนสุข). (2556). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วน
ตำบลใน อำเภอบรรตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตร์มหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาธีร์ โมฮัมเหม็ด. (2556). ธรรมาภิบาลกับคอรัปชั่นในสังคมไทย. กรุงเทพพมหานคร: อัมรินทร์ ปริ้นติ้งแอนด์
พับสิสซิ่ง.
ยโสธารา ศิริภาประภากร. (2559). วิเคราะห์คำสอนจากพิธีกรรมเข้าทรงมะม๊วดที่สัมพันธ์กับหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนาของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยเขมร. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
รัตนา สายคณิต. (2546). การบริหารโครงการ:แนวทางสู่ความสำเร็จ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วันชัย มีชาติ. (2555). การบริหารองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดสามลดา.
วรดี เลิศไกร, จรุงใจ มนต์เลี้ยง และสุชาดา จิตกล้า. (2559, มกราคม–มิถุนายน). การจัดกิจกรรมของ
เล่นภูมิปัญญาเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยกรณีเทศบาลตำบลทอนหงส์ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลันราชภัฏนครศรีธรรมราช. 8(1).
สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงาน ก.พ.. (2542, 10 สิงหาคม). Good governance กับการพัฒนา
ราชการประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 166 ตอนที่ 63 ง.
สายหยุด ใจสำราญ, สุภาพร พิศาลบุตร. (2547). การพัฒนาองค์การ (Organization Development).พิมพ์
ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: โครงการศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต.
สมหมาย ปฐมวิชัยวัฒน์. (2543). หลักปรองดองที่ดีกับสภาวะแวดล้อมของระบบควบคุมภายใน. วารสารนัก
บริหาร.
อรรถวุฒิ ตัญธนาวิทย์. (2544). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการ. กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อินทรัตน์ ยอดบางเตย. (2547). ธรรมรัฐ. กรุงเทพมหานคร: ดอกหญ้ากรุ๊ป.
อำนาจ ยอดทอง. (2543). บทวิเคราะห์ว่าด้วยธรรมาภิบาลในพระพุทธศาสนา. (การประชุมวิชาการระดับชาติ
มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ครั้งที่ 1. (Book of abstracts and MCU Congress
Proceeding). พุทธบูรณาการเพื่อการพัฒนาจิตใจและสังคม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.