การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานจุลกฐิน “การทอจากเมล็ดฝ้ายสู่ไตรจีวร” กรณีศึกษาวัดไชยมงคล ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี The Participation of People in Junla Kathin Ceremny “Cotton Weaving of Three Yellow Robes”: Case Study: Wat Chai Mongkol, Nai-

Main Article Content

ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิตยา พร้อมพรม

Abstract

            การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) เพื่อเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน จำแนกตามปัจจัยสภาพแวดล้อม โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชาชนในพื้นที่ตำบลในเมือง จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 384 ราย และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบ การทดสอบสถิติ tและ f


ผลการวิจัยพบว่า


  1. การมีส่วนร่วมในงานจุลกฐิน “การทอจากเมล็ดฝ้ายสู่ไตรจีวร” ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน

  2. ประชาชนที่มีอายุแตกต่างกัน และสถานภาพในชุมชนจะมีระดับการมีส่วนร่วมในงานจุลกฐิน “การทอจากเมล็ดฝ้ายสู่ไตรจีวร”: กรณีศึกษาวัดไชยมงคล ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ที่แตกต่างกันในด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์

  3. ประชาชนที่มีระดับการศึกษา ที่แตกต่างกัน จะมีระดับการมีส่วนร่วมในงานจุลกฐิน “การทอจากเมล็ดฝ้ายสู่ไตรจีวร”: กรณีศึกษาวัดไชยมงคล ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ที่แตกต่างกันในด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน

  4. ประชาชนที่มีรายได้ ที่แตกต่างกัน จะมีระดับการมีส่วนร่วมในงานจุลกฐิน “การทอจากเมล็ดฝ้ายสู่ไตรจีวร”: กรณีศึกษาวัดไชยมงคล ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ที่แตกต่างกันในด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ และด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล

  5. ประชาชนที่มีการเข้าร่วมเป็นสมาชิก ที่แตกต่างกัน จะมีระดับการมีส่วนร่วมในงานจุลกฐิน “การทอจากเมล็ดฝ้ายสู่ไตรจีวร”: กรณีศึกษาวัดไชยมงคล ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ที่แตกต่างกันในด้านการมีส่วนรวมในการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน และด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์

             The objective of this study were to1) study the level of people’s participation 2) compare the differentiation of demographic factor and the level of people’s participation and 3) compare the differentiation ofenvironmental factor and the level of people’s participation. Data were collected from 384people who live in Nai-Mueang Sub-distract, Ubon Ratchathani Province by using a questionnaire survey. In addition, data were statistically analyzed using mean, standard deviation, t-test and one-way ANOVA


The result of the study found that


  1. There is a moderate level of people’s participation in Junla Kathin Ceremny “Cotton Weaving of Three Yellow Robes” in each participation’s aspect, including decision making aspect, operation aspect, receive benefits aspect, and evaluation aspect.

  2. The differentiation of age and community status will affect the level of people’s participation in Junla Kathin Ceremny “Cotton Weaving of Three Yellow Robes” inreceive benefits aspect.

  3. The differentiation of qualification will affect the level of people’s participation in Junla Kathin Ceremny “Cotton Weaving of Three Yellow Robes” inoperation aspect.

  4. The differentiation of salary will affect the level of people’s participation in Junla Kathin Ceremny “Cotton Weaving of Three Yellow Robes” in receive benefits aspect, and evaluation aspect.

  5. The differentiation of the amount of community’s membership will affect the level of people’s participation in Junla Kathin Ceremny “Cotton Weaving of Three Yellow Robes” in operational aspect and receive benefits aspect.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กฤตพร แซ่แง่ สายจันทร์ และกัลยกร ภิญโญ. (2558, มกราคม-มิถุนายน). การประเมินผลการดำเนินงาน
โครงการพัฒนาชุมชนเป็นพื้นที่แบบพึ่งตนเองและยั่งยืน ADP ลำทับ จังหวัดกระบี่. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 7(1).
กุลจิรา เสาวลักษณ์จินดา. (2555). การมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการจัดการแหล่งท่องเที่ยว: กรณีศึกษา
อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี. (การค้นคว้าอิสระ). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี,บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.
ทิพวัล มลิแสดง. (2553). การมีส่วนร่วมในการดำเนินของสมาชิกสหกรณ์ภาคการเกษตร ในจังหวัดกระบี่.
(วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
พระมหาประกาศิต สิริเมโธ (ฐิติปสิทธิกร). (2557). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาหมู่บ้าน
เศรษฐกิจ พอเพียงของชุมชนบ้านคลองใหม่ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม (การพัฒนาสังคม).
(พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, การบริหารจัดการคณะสงฆ์.
พระยาอนุมานราชธน. (2531). การศึกษาวรรณคดีแง่วรรณศิลป์. กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร.
ระบบสถิติทางการทะเบียน. (2559). สถิติประชากรและบ้านสืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2559, จาก
http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php
ลัญจกร นิลกาญจน์. (2557, กรกฎาคม-ธันวาคม). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 6(2).

ศรีประไพร คุ้มศัตรา. (2559). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ป่าชุมชน: ศึกษากรณีตำบลช่อง
สะเดา อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1(3), 59–68.
อานนท์ อาภาภิรมย์. (2525). มนุษย์กับสังคม สังคม และวัฒนธรรมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร:
บำรุงนุกูลกิจ.