ขบวนการชาวนาชาวไร่ในสังคมไทย : จากอดีตสู่ปัจจุบัน

Main Article Content

ประภาส ปิ่นตบแต่ง

บทคัดย่อ

บทความ มุ่งอธิบายพัฒนาการด้านการลุกขึ้นสู้ของชาวนาว่า มีรูปแบบลักษณะใด รากเหง้าของปัญหาที่ทำให้ชาวนาในแต่ละยุคสมัย รูปแบบองค์กรอย่างไร มีความแตกต่างกันไปอย่างไร โดยพิจารณาเปรียบเทียบขบวนการชาวไร่ชาวนาในอดีตที่ผ่านมา นับตั้งแต่ชาวนาในยุคก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 สหพันธ์ชาวนาชาวไร่ฯ จนถึงขบวนการชาวนาชาวไร่ร่วมสมัยในปัจจุบัน  


ด้านการศึกษาขบวนการชาวนาชาวไร่ พบว่า มักให้ความสำคัญต่อการศึกษาขบวนการเคลื่อนไหวที่ใหญ่โต มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จัก และสามารถสร้างผลสะเทือนในการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายหรือทางสังคม ในขณะที่การรวมกลุ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะกลุ่มที่รัฐเข้าไปส่งเสริมจัดตั้งยังมีงานศึกษาไม่มากนัก และการศึกษาขบวนการชาวนาร่วมสมัยต้องคำนึงถึงบริบททางเศรษฐกิจ-การเมือง พื้นที่ทางการเมืองและสังคม และโลกชีวิตของชาวนาที่เปลี่ยนแปลงอย่างมากด้วย

Article Details

บท
บทความพิเศษ (Special Article)

References

ภาษาไทย
1. กนกศักดิ์ แก้วเทพ. (2540). “จากสหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทยถึงสมัชชาคนจน.” เศรษฐศาสตร์การเมือง 3 (ตุลาคม-ธันวาคม 2540) : 91-109.

2. กนกศักดิ์ แก้วเทพ . (2530). บทวิเคราะห์สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย : การเคลื่อนไหวของชาวนาไทยยุคประชาธิปไตยเบิกบาน. กรุงเทพมหานคร : คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

3. กลุ่มประสานงานศาสนาเพื่อสังคม. (2522). รำลึกถึงจำรัส ม่วงยาม ผู้นำชาวนาที่ไม่ใช่คนสุดท้าย. กรุงเทพมหานคร : กลุ่มประสานงานศาสนาเพื่อสังคม.

4. คาร์ล ซี ซิมเมอร์แมน. (2525). การสำรวจเศรษฐกิจในชนบทแห่งสยาม. ซิม
วีระไวทยะ (แปล). กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

5. แคน สาลิกา (บก.). (2538). ครอง จันดาวงศ์. ชะตากรรมที่เลือกไม่ได้. กรุงเทพฯ : บริษัทดวงกมลวรรณกรรม จำกัด.

6. จามะรี พิทักษ์วงศ์. (2557). “ระบบทุนนิยมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมชาวนาไทย.” เศรษฐศาสตร์การเมือง 3, 4 (เม.ย-มิ.ย.) : 1-39.

7. ฉัตรทิพย์ นาถสุภา และประนุช ทรัพยสาร. (2527). “อุดมการขบถผู้มีบุญอีสาน.” ใน พรเพ็ญ ฮั่นตระกูล และอัจฉราพร กมุทพิชัย. ความเชื่อพระศรีอาริย์ และกบฎผู้มีบุญในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : บริษัทสำนักพิมพ์สร้างสรรค์.

8. ฉลอง สุนทราวาณิชย์. (2527). “ความเชื่อเรื่องพระศรีอาริย์และกบฏผู้มีบุญในภาคอีสาน: ข้อสังเกตเบื้องต้นว่าด้วยอุดมการณ์และผู้นำ” ใน พรเพ็ญ ฮั่นตระกูล และอัจฉราพร กมุทพิสมัย (บก.) ความเชื่อพระศรีอาริย์และกบฏผู้มีบุญในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์, หน้า 22-32.

9. ฐานเศรษฐกิจรายงาน. (2557). ทิศทางข้าวไทยใต้เงา คสช. หลากไอเดียสู่จุดเริ่มต้นใหม่. ฐานเศรษฐกิจ. 8-11 มิถุนายน.

10. ดำเกิง โกทอง. (2538). นโยบายของรัฐบาลต่อปัญหาชาวนา 2501-2516. วิทยานิพนธ์คณะอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต. ภาควิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

11. ดำรงราชานุภาพ, กรมพระ. (2468). เรื่องสนทนากับผู้ร้ายปล้น. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร. (พิมพ์เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ อำมาตย์เอก พระยาบรรหารทัณพากิจ (ลำไย โรจนวิภาต)).

12. เดวิด บรูซ จอห์นสตัน. (2530). สังคมชนบทและภาคเศรษฐกิจข้าวของไทย พ.ศ. 2423-2473. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

13. ธงชัย พึ่งกันไทย. (2521). ลัทธิคอมมิวนิสต์และนโยบายต่อต้านของรัฐบาลไทย พ.ศ. 2468-2500. วิทยานิพนธ์คณะอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต. ภาควิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

14. นฤมล ทับจุมพลและคณะ. (2539). “การเคลื่อนไหวของขบวนการประชาชนในชนบทกับการปราบปรามของรัฐ (ช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 - ปัจจุบัน).” รัฐศาสตร์สาร. 19, 3 (ก.ย.-ธ.ค.) : 68-90.

15. ประภาส ปิ่นตบแต่ง. (2540). การเมืองบนท้องถนน : 99 วันสมัชชาคนจน. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์วิจัยและผลิตตำรา มหาวิทยาลัยเกริก.

16. ปรานี กล่ำส้ม. (2528). การแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับชาวนาโดยวิธีการสหกรณ์ ในรัฐสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์คณะอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต. ภาควิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

17. พรเพ็ญ ฮั่นตระกูล และอัจฉราพร กมุทพิชัย. (2527). ความเชื่อพระศรีอาริย์ และกบฎผู้มีบุญในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : บริษัทสำนักพิมพ์สร้างสรรค์.

18. มนัสชัย นำทรงพล.(2524). พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย : ว่าด้วยรากฐานความเป็นมาในประวัติศาสตร์ปริทัศน์. กรุงเทพมหานคร : บพิธการพิมพ์, 2524

19. มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2559). โครงการศึกษาภาวะหนี้สินเกษตรกรและแนวทางการปรับปรุงศักยภาพการดําเนนงานกองทุนในกำกับดูแลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.

20. ล้อม เพ็งแก้ว. (2537). “โจรพัทลุง-กรณีนำนานโจรแห่งตำบลดอนทราย : ความแรงของลมย่อมเกี่ยวเนื่องกับเมฆหมอกแห่งฤดูกาล.” ทักษิณคดี 4,1 (มิ.ย.-ก.ย.) : 14-29.

21. ศรีกรุง. (2491ก). 26,7299 (20 กุมภาพันธ์): 2.

22. ศรีกรุง. (2491ข). 26, 7286 (4 มิถุนายน).

23. ศรีบูรพา (นามแฝง). ขอแรงหน่อยเถอะ. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า, 2530.

24. ศิวรักษ์ ศิวารมย์. (2521). กระบวนการแบ่งชนชั้นชาวนาในชนบท : ศึกษาเฉพาะชาวนาภาคกลาง พ.ศ. 2485-2524. วิทยานิพนธ์คณะอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต. ภาควิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

25. ศิวะ รณชิต. (2521). จดหมายจากลาดยาว. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ประกาย.

26. สิริ เปรมจิตต์. (2516). พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ทรงโต้แย้งเค้าโครงการเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์. กรุงเทพฯ : เสาวภาค.

27. สมชาย หลั่งหมอยา. (2520). ปัญหาชาวนาและนโยบายของรัฐบาลในรัฐสมัยรัชกาลที่ 5. วิทยานิพนธ์คณะอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต. ภาควิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

28. สมภพ ดอนดี. (2560). พลวัตขบวนการเคลื่อนไหวเพื่อการปฏิรูปที่ดินหลังรัฐธรรมนูญ 40: กรณีศึกษาเครือข่ายปฏิรูปที่ดินแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ.

29. ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร. (2560). สรุปสถานการณ์การดำเนินงานของสำนักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร. แหล่งที่มา: http://www.frdfund.org ออนไลน์, เข้าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2560.

30. สยามนิกร. (2489). 18 กันยายน.

31. สหายวัฒนา (2533) ใน อรรถ นันทจักร (บก.). (2533). “ลุงวัฒนา” บันทึกประวัติศาสตร์ประชาชน จากเสรีไทยสายอีสานถึงพรรคคอมมูนิสแห่งประเทศไทย. (เอกสารโรเนียว).

32. สำนักข่าวอิศรา. (2557). เปิดภาพรวมที่ดินไทย 'เหลื่อมล้ำ-กระจุกตัว' ความมั่งคั่งในคราบน้ำตาคนจน[ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.isranews.org/thaireform-doc-labor-quality/31125-0907571.html (เข้าถึงเมื่อ 8 พฤษภาคม 2561).

33. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. (2536). 60 ปีประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการ 60 ปีประชาธิปไตย.

34. สุรพล ตันรุ่งเรืองทวี. (2535). การเคลื่อนไหวเพื่อต่อรองผลประโยชน์ของชาวนาชาวไร่ระหว่างปี 2516-2519. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกริก.

35. อรรถ นันทจักร์ (บก.). (2533). “ลุงวัฒนา” บันทึกประวัติศาสตร์ประชาชน จากเสรีไทยสายอีสานถึงพรรคคอมมูนิสแห่งประเทศไทย. (เอกสารโรเนียว)

36. อรรถจักร สัตยานุรักษ์. (2559). ลืมตาอ้าปาก จาก "ชาวนา" สู่ "ผู้ประกอบการ". กรุงเทพมหานาคร : สำนักพิมพ์มติชน.

ภาษาอังกฤษ
1. Evers, Hans Dieter,(et al). (1969). Loosely structured social systems: Thailand in comparative. New Haven, Conn. : Yale Univ. Southeast Asia Studies.

2. Morell, David and Chai-Anan Samudavanija. (1981). Political Conflict in Thailand : Reform, Reaction, Revolution. Cambridge, Massachusetts : Oelgeschlager, Gunn and Hian.

3. Ratana Boonmathaya. (1986). Peasant Resistance and Ideology : A Case Study Thai Peasantry During 1950s-1980s. M.A. Thesis Institute of Social studies, The Hague.

4. Riggs, Fred W. (1966).Thailand : The Modernization of a Bureaucrat polity. Honolulu : East-West Center.

5. Somchai Phatharathananunth. (2005). Civil Society and Democratization: Social Movements in Northeast Thailand, USA : University of Hawaii Press.

สัมภาษณ์
1. ประศักดิ์ ชัยชาติ “สหายทรัพย์”. อดีตประธานสหพันธุ์ชาวนาชาวไร่ จ.อุดรธานี. บ้านดงบาก อำเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลำภู.
17 ธันวาคม 2541. สัมภาษณ์.

2. พ่อลี โสณกุล หรือ “สหายหวาด”. บ้านแพงพวย ตำบลแพงพวย อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์. 9 ธันวาคม 2539. สัมภาษณ์. (โดยปรีชา อุยตระกูล)

3. สหายทศ (ธรณี). ตำบลโนนทัน อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู. 14 ธันวาคม 2541. สัมภาษณ์.

4. สหายพั่ว. บ้านโนนทัน ตำบลโนนทัน อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู. 15 ธันวาคม 2541. สัมภาษณ์.

5. อดีตสหายท่านหนึ่ง. มกราคม 2540. สัมภาษณ์. (โดยปรีชา อุยตระกูล)